Page 55 - ภาพนิ่ง 1
P. 55
Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 49
เห็นว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังมีพฤติกรรการดูแล กิตติกรรมประกาศ
สุขภาพที่ไม่เหมาะสมแม้จะมีการส่งเสริมให้ออก พ.ต.ท.ผศ.ดร.นภดล ทองนพเนื้อ และ
กำลังกายด้วยท่ากายบริหารฤๅษีดัดตนที่ได้มีการ คณาจารย์จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศึกษามาแล้วว่ามีความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วย ศรีนครินทรวิโรฒ ที่ได้ให้ความรู้และคำแนะนำใน
เบาหวาน (ปัณสุข., 2552) ดังนั้นจึงควรมีการ การศึกษาวิจัย. สำนักวิชาการ กรมพัฒนาการ
ศึกษาเพิ่มเติมถึงปัจจัยหรือแรงจูงใจใดที่มีผลต่อ แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ริเริ่ม
พฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวาน โครงการพัฒนานักวิจัยเชิงระบบ. กองทุนภูมิ
จากข้อมูลส่วนหนึ่งพบว่าผู้ป่วยเบาหวานส่วน ปัญญาการแพทย์แผนไทยที่สนับสนุนงบ
ใหญ่ไม่เคยใช้บริการแพทย์แผนไทยที่สถานี ประมาณ. นายแพทย์วันชัย เหล่าเสถียรกิจ ผู้
อนามัย ถึงร้อยละ 45.7 ทั้งที่สถานีอนามัยแทบ อำนวยการโรงพยาบาลกันทรลักษ์ นายปัญญา
ทุกแห่งในอำเภอกันทรลักษ์มีการจัดบริการ พละศักดิ์ สาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ์ หัวหน้า
แพทย์แผนไทยและในทางตรงกันข้ามพบว่ามีผู้ สถานีอนามัยทุกแห่งและทีมงานแพทย์แผนไทย
ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมคลินิกเบาหวานที่สถานี คปสอ.กันทรลักษ์ ที่ได้ช่วยเหลือสนับสนุนการ
อนามัยอยู่เป็นประจำร้อยละ 56.21 ทั้งนี้อาจ เก็บข้อมูลและคุณประคองศิลป์ โพทะเลศ และ
เป็นได้ว่าการจัดบริการแพทย์แผนไทยในสถานี ทีมงานที่ช่วยทำการวิเคราะห์ข้อมูล จนสำเร็จ
อนามัยยังไม่ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย ลุล่วงไปด้วยดี
เบาหวาน ดังนั้นจึงควรที่จะมีการศึกษาเพิ่มเติม
ถึงการนำระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการ เอกสารอ้างอิง
แพทย์แผนไทยและการบำบัดรักษาแบบองค์รวม 1. กลุ่มงานวิชาการ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการ
เข้ามาในระบวนการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน ดำเนินงานในศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย
เพื่อประโยชน์ต่อผู้ป่วยในการเปลี่ยนแปลง การแพทย์แผนไทยและการอบรมทางเลือก 8 อ. พิมพ์ครั้ง
พฤติกรรมสุขภาพให้แข็งแรงทั้งทางร่างกาย และ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร; 2552.
2. จันทร์จรัส จันทร์จารุพงศ์. ผลการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
จิตใจ แบบองค์รวมต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมี
สรุป โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้วย บำบัด. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา
การแพทย์แผนไทยชุดหลักธรรมานามัย สามารถ สุขศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร;
2547.
เป็นทางเลือกหนึ่งในการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ 3. จิณณพัต ธีรอภิศักดิ์กุล. คุณภาพชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ป่วยเบาหวานได้ โดยเฉพาะการดูแลด้านจิตใจ ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินในโรงพยาบาลสมเด็จ
ด้านการสร้างสัมพันธภาพทางสังคมและสิ่ง พระพุทธเลิศหล้า จังหวัดสมุทรสงคราม; 2551.
4. จีรนุช สมโชค. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน.
แวดล้อม วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
พยาบาลผู้ใหญ่. กรุงเทพมหานคร; มหาวิทยาลัยมหิดล.
; 2540.