Page 52 - ภาพนิ่ง 1
P. 52
46 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
และด้านสภาพแวดล้อม เป็นข้อมูลก่อนการ ว่า เริ่มป่วยเมื่ออายุเฉลี่ย 50.06 ปี ระยะเวลา
ทดลองทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมและหลัง ป่วยโดยเฉลี่ย 7 ปี 2 เดือน ระดับน้ำตาลอยู่
จากที่เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย ส่งเสริมติดตามให้ผู้ ระหว่าง 70 – 120 mg.% รักษาโรคเบาหวาน
ป่วยปฏิบัติตามแนวทางอย่างต่อเนื่องเป็นระเวลา ด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน รองลงมาคือรักษา
2 เดือน เก็บข้อมูลครั้งที่ 2 เป็นข้อมูลหลังการ แบบผสมผสานระหว่างการแพทย์แผนไทยและ
ทดลอง การแพทย์แผนปัจจุบัน ร้อยละ 81.21 และ
16.72 ตามลำดับ การปฏิบัติตนเพื่อควบคุม
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ระดับน้ำตาลใช้การรับประทานยาตามแพทย์สั่ง
วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการ ร่วมกับออกกำลังกาย ควบคุมอาหารและนั่ง
เจ็บป่วยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าความถี่ ร้อยละ สมาธิ/สวดมนต์ มีการเข้าร่วมกิจกรรมของคลินิก
เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตกลุ่มทดลองและกลุ่ม เบาหวานเป็นประจำ ร้อยละ 56.21 ส่วนใหญ่ไม่
ควบคุมก่อนและหลังการส่งเสริมสุขภาพด้วยการ เคยใช้บริการแพทย์แผนไทยที่สถานีอนามัย ร้อย
แพทย์แผนไทย โดยใช้สถิติ Paired-Samples T ละ 45.7 ส่วนกิจกรรมแพทย์แผนไทยที่ผู้ตอบ
test และ Independent-Samples T test แบบสอบถามเคยใช้บริการที่สถานีอนามัยมาก
ที่สุด คือ นั่งสมาธิหรือสวดมนต์
2. ระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานที่ถูก
ผลการศึกษา ส่งกลับชุมชน
1. ข้อมูลทั่วไป ผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มตัวอย่างส่วน เกณฑ์ในการแบ่งระดับคะแนนคุณภาพ
ใหญ่เป็นหญิง ร้อยละ 78.99 อายุเฉลี่ย 57.26 ปี ชีวิต โดยรวมและรายด้าน แบ่งโดยพิจารณาจาก
สถานภาพสมรสคู่ การศึกษาระดับประถมศึกษา ค่าพิสัยของคะแนนรวม (สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล
รายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 1,000 บาท อาศัย และคณะ, 2545) ดังนี้
อยู่กับคู่สมรส ลักษณะทั่วไปด้านการเจ็บป่วย พบ
องค์ประกอบ คุณภาพชีวิตไม่ดี คุณภาพชีวิตปานกลาง คุณภาพชีวิตดี
1. ด้านร่างกาย 7-16 17-26 27-35
2. ด้านจิตใจ 6-14 15-22 23-30
3. ด้านสัมพันธภาพทางสังคม 3-7 8-11 12-15
4. ด้านสิ่งแวดล้อม 8-18 19-29 30-40
คุณภาพชีวิตโดยรวม 26-60 61-95 96-130