Page 51 - ภาพนิ่ง 1
P. 51

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 10 No. 1 January-April 2012   45





          คือการยืนบริหารกายท่าฤๅษีดัดตนพื้นฐานของ ตัวอย่างอย่างเป็นระบบ (Systemic Random
          สถาบันการแพทย์แผนไทย จำนวน 5 ท่า ท่าละ  Sampling แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 385 คน กลุ่ม

          10 ครั้ง ขยับกาย 60 ครั้งต่อนาที ใช้เวลา 30  ควบคุม 291 คน กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มผู้ป่วยเบา
          นาที ตามลำดับดังนี้                        หวานที่มารับบริการที่สถานีอนามัยที่ให้การส่ง

               ท่าที่ 3 ยึดเหยียดแขน (ประสานมือระดับ เสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ชุดหลัก
          ลิ้นปี่ ชูมือเหนือศีรษะ วาดมือออกข้างไปด้าน ธรรมานามัย โดยเริ่มจากทีมผู้วิจัยฝึกอบรมเจ้า
          หลัง กำหมัดประกบเอว นวดไปกลางหลัง)         หน้าที่สถานีอนามัยให้มีความรู้ในการส่งเสริมสุข

               ท่าที่ 4 แก้เกียจ (ประสานมือระดับลิ้นปี่  ภาพด้วยการแพทย์แผนไทย และฝึกปฏิบัติผู้ป่วย
          หงายมือเหยียดแขนไปทางซ้าย ไปทางขวา ไป เบาหวาน ให้มีความรู้ในหลักปฏิบัติด้านจิตตานา

          ด้านหน้า ชูเหนือศีรษะ วางบนศีรษะ)          มัยจากการสวดคาถาชินบัญชรเป็นประจำก่อน
               ท่าที่  10  ก้าวบิดตัว  (ยืนก้าวเท้าซ้าย นอน ด้านกายานามัยโดยการออกกำลังกายด้วย
          มือขวาแตะสะโพก ย่อตัวลงด้านหน้าหันหน้าไป “กายบริหารท่าฤๅ ษีดัดตนแบบกันทรลักษ์”

          ทางขวา กลับมาท่าเดิม ยืนก้าวเท้าขวามือซ้าย และด้านชีวิตานามัยโดยการให้ความรู้การรับ
          แตะสะโพก ย่อตัวลงด้านหน้าหันไปทางซ้าย)     ประทานอาหารตามธาตุ หลังจากนั้น ทีมผู้วิจัย

               ท่าที่ 9 ดำรงกาย (กำมือซ้อนกันระดับอก  มอบเอกสารคู่มือการฝึกปฏิบัติการสวดคาถาชิน
          ย่อตัวลงช้าๆ ยืดตัวขึ้นช้าๆ)               บัญชรและการออกกำลังกายด้วย “กายบริหาร
               ท่าที่ 13 นวดขา (มือจับต้นขา นวดจาก ท่าฤๅษีดัดตนแบบกันทรลักษ์” ให้ไปปฏิบัติต่อที่

          ต้นขาถึงข้อเท้า นวดจากข้อเท้าถึงต้นขา)     บ้านและจะมีการติดตามโดยเจ้าหน้าที่สถานี
               หมายเหตุ : หลักเกณฑ์การกำหนดท่าใน อนามัย ซึ่งจะมีการทบทวนการปฏิบัติทุกครั้งที่ผู้

          การปฏิบัติ  “กายบริหารท่าฤๅ ษีดัดตนแบบ ป่วยมารับบริการที่คลินิกเบาหวาน  ส่วนกลุ่ม
          กันทรลักษ์” พิจารณาจากความเหมาะสม และ ควบคุมเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่สถานี
          ความสะดวกในการนำไปปฏิบัติได้ทุกสถานที่ของ อนามัยที่มีการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามปกติแต่

          ผู้ป่วย                                    ไม่มีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
                                                     ชุดหลักธรรมานามัย เก็บข้อมูลเบื้องต้นโดยให้ผู้

                      ระเบียบวิธีวิจัย               ป่วยตอบแบบสอบถามเองโดยใช้แบบสอบถาม
               การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยกึ่งทดลอง   ข้อมูลส่วนบุคคล และประเมินคุณภาพชีวิตโดยใช้

          (Quasi Experimental Research) ในผู้ป่วย    แบบวัดคุณภาพชีวิตชุดย่อขององค์การอนามัย
          เบาหวานที่ได้รับการส่งต่อสู่ชุมชน (FBS <150   โลก WHO QOL-BREF (WHO,2004) ประเมิน

          Mg%, B.P <=140/90 mmHg และไม่มีโรค         การรับรู้คุณภาพชีวิตทั้ง  4  ด้าน  ได้แก่  ด้าน
          แทรกซ้อน)  จำนวน  676  คน  สุ่มเลือกกลุ่ม  ร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56