Page 94 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 94

74 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             เพื่อใช้ในการรักษาอาการปวดศีรษะมากที่สุด รองลง  แพทย์แผนไทย 6 ต�ารับ ได้แก่ ต�ารับยาศุขไสยาศน์
             มาคือช่วยนอนหลับ และโรคมะเร็ง และสอดคล้อง   มีสรรพคุณช่วยให้นอนหลับ ลดความวิตกกังวล
             กับข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยคลินิกกัญชาทางการ  ต�ารับยาแก้ไข้ผอมเหลือง สรรพคุณแก้นอนไม่หลับ

             แพทย์ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี  ที่มีการใช้ต�ารับยา   แก้อ่อนเพลีย ต�ารับยาแก้ลม แก้เส้น สรรพคุณแก้
                                    [9]
             เสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่  ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการมือเท้าชา อ่อน

             ที่ให้เสพเพื่อรักษาโรคตามที่กระทรวงสาธารณสุข  แรง น�้ามันสนั่นไตรภพ แก้อาการเจ็บปวดท้อง ท้อง
             ก�าหนด พบว่าต�ารับยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยมากที่สุด 3   มาน ต�ารับยาอัมฤตย์โอสถ แก้ผอมแห้ง มือเท้า
             ต�ารับแรกคือ น�้ามันกัญชา (ต�ารับหมอเดชา) เพื่อรักษา  อ่อนแรง และน�้ามันกัญชาต�ารับหมอเดชา ช่วยให้

             อาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ รองลงมาคือต�ารับยา   เจริญอาหาร นอนหลับสบาย ลดอาการวิตกกังวล
             ศุขไสยาศน์เพื่อช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร และ  ความเครียดจากกลุ่มโรค เป็นต้น มาใช้ในการดูแล

             ต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุเพื่อบรรเทาอาการแข็งเกร็ง  ผู้ป่วยมะเร็งโดยการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วย ซึ่ง
             ของกล้ามเนื้อ อาการชาของผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต   มีให้บริการอยู่ในคลินิกกัญชาทางการแพทย์  ดังนั้น
                                                                                         [12]
             ตามล�าดับ แต่ไม่สอดคล้องกับโรคและภาวะที่กรม  เพื่อความปลอดภัยในการน�ากัญชามาใช้ประโยชน์

             การแพทย์ ระบุว่ามีหลักฐานทางวิชาการที่มีคุณภาพ  ทางการแพทย์ ผู้ป่วยควรเข้ารับบริการจากคลินิก
                     [10]
             สนับสนุนชัดเจนให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์   กัญชาทางการแพทย์ เนื่องจากมีผู้ให้บริการที่ผ่านการ
             จ�านวน 6 โรค ได้แก่ 1. ภาวะคลื่นไส้ อาเจียนจากเคมี  อบรมความรู้เกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์โดย

             บ�าบัด (chemotherapy-induced nausea and     เฉพาะ ทั้งนี้ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีคลินิกดังกล่าว
             vomiting) 2. โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชัก  ประจ�าอยู่ทุกอ�าเภอในปัจจุบันมีทั้งหมด 84 แห่ง แต่
             ที่ดื้อต่อยารักษา (intractable epilepsy) 3. ภาวะ  จากข้อมูลผู้มารับบริการของคลินิกกัญชาทางการ

             กล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอก  แพทย์ทั้งจังหวัดสุราษฎร์ธานี  ในปี 2563 และ 2564
                                                                               [9]
             ประสาทเสื่อมแข็ง (multiple sclerosis) 4. ภาวะปวด  พบว่า มีผู้รับบริการจ�านวนเพียง 274 คน และ 358 คน

             ประสาท (neuropathic pain) 5. ผู้ป่วยรักษาแบบ   ตามล�าดับ ซึ่งเป็นจ�านวนผู้มารับบริการที่น้อยกว่าครึ่ง
             ประคับประคอง (palliative care) 6. ภาวะเบื่ออาหาร  หนึ่งของผู้ที่มาแจ้งการมีไว้ในครอบครองซึ่งกัญชาที่มี
             ในผู้ป่วยเอดส์ที่มีน�้าหนักน้อย โดยการใช้กัญชา  ทั้งสิ้น 767 คน

             รักษาโรคมะเร็งโดยตรง ในปัจจุบันยังมีข้อมูลการ     ข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์รายบุคคล
             ศึกษาวิจัยในคนไม่เพียงพอ แต่มีผลการศึกษาของ  พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ในกลุ่มประชาชน และผู้ป่วย

             การใช้ยาสกัดกัญชาชนิด THC เด่นในผู้ป่วยมะเร็ง  ที่มาแจ้งการครอบครองฯ ส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลผ่าน
             ระยะลุกลาม พบว่ามีความปลอดภัยเพียงพอใน      สื่อสาธารณะทั่วไป ไม่มีแหล่งอ้างอิงที่ชัดเจน โดย
             การน�ามาใช้เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งระยะ  บางส่วนไม่มั่นใจในความถูกต้องของข้อมูลที่ตนได้

             ลุกลามท�าให้นอนหลับดีขึ้น ลดอาการปวด และเพิ่ม  รับ มีเพียงกลุ่มเจ้าหน้าที่เท่านั้นที่มีช่องทางการรับรู้
             ความอยากอาหารได้ และกรมการแพทย์แผนไทย       ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่ชัดเจน
                             [11]
             และการแพทย์ทางเลือกใช้ต�ารับยากัญชาทางการ   และถูกต้อง ท�าให้การรับรู้เกี่ยวกับกฎหมายการ
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99