Page 53 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 53

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  33




              สกลนคร โดยใช้วิธีการกลั่นน�้ามันหอมระเหยด้วย  ประเมินภาวะทางด้านอารมณ์หลังการทดลองทันที
              ความร้อน (water distillation & hydro-distil-     น�าข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์ข้อมูลใช้
              lation) เป็นน�้ามันหอมระเหยสกัดเข้มข้น 100 %   สถิติเชิงพรรณนา Chi-square และ paired t-test

              น�าน�้ามันหอมระเหยบรรจุในขวดสีชา ปริมาตร 5
              มิลลิกรัม เพื่อเตรียมไว้ส�าหรับท�าการทดลอง  4. จริยธรรมก�รวิจัยในมนุษย์

                   ขั้นตอนที่ 2  การเก็บรวบรวมข้อมูล          การศึกษานี้ ได้รับอนุมัติจริยธรรมการวิจัย
                   เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนการทดลองด้วย       ในมนุษย์จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
              แบบสอบถาม โดยพัฒนาจากงานวิจัยที่ผ่านมา เพื่อ  เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร โดยยึดหลักเกณฑ์

              ให้เหมาะสมกับบริบทของการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย  ตามค�าประกาศเฮลซิงกิ (Declaration of Helsinki)
              ให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านตรวจสอบความเที่ยงตรงของ  และแนวทางการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดีของ

              เนื้อหา มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item –   ไอซีเอช (ICH GCP Guideline) เลขที่ Kucsc.HE-
              Objective Congruence : IOC) เท่ากับ 1.00 เก็บ  64-001 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2564
              รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย

              3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 แบบ       ผลก�รศึกษ�
              ประเมินความจ�า ประยุกต์ใช้ Memory Test  และ     การศึกษาครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 60 คน
                                                [12]
              ส่วนที่ 3 แบบประเมินภาวะทางอารมณ์ ประยุกต์ใช้   แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน ข้อมูลทั่วไป จ�าแนก

              Bond-Ladder Questionnaire  ซึ่งเป็นแบบประเมิน   ข้อมูลตาม เพศ ชั้นปีที่ก�าลังศึกษา ผลการเรียนเฉลี่ย
                                      [5]
              Visual Analogue Scale เพื่อให้ผู้เข้าร่วมวิจัยวงกลม  ประวัติการแพ้สมุนไพร และการรับประทานยา/อาหาร
              ตัวเลขระหว่าง 0 และ 10 โดยประยุกต์ใช้โปรเจคเตอร์  เสริมในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา ในกลุ่มที่ 1 ได้รับการสูด

              แสดงค�าถามด้วยโปรแกรม powerpoint            ดมน�้ามันหอมระเหยผักแขยง กลุ่มที่ 2 ได้รับการสูด
                   การทดสอบ โดยน�าแผ่นกระดาษทดสอบกลิ่น    ดมน�้ามันหอมระเหยหูเสือ กลุ่มที่ 3 ได้รับการสูดดม

              ความกว้าง 7 เซนติเมตร 5 ยาว 15 เซนติเมตร หยด  น�้ามันหอมระเหยโหระพา และกลุ่มที่ 4 ได้รับการสูด
              น�้ามันหอมระเหย จ�านวน 1 หยดต่อแผ่น ให้กลุ่ม  ดมน�้ามันแก้ว ผลการวิเคราะห์ไม่พบความแตกต่าง
              ตัวอย่างสูดดมกลิ่นที่ได้รับการสุ่มคนละ 1 กลิ่น โดย  กันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มทั้ง 4 กลุ่ม

              แกว่งมือเบา ๆ ไปมา ระยะห่างจากจมูก 20 เซนติเมตร   (p < 0.05) (ตารางที่ 1)
              เป็นเวลา 3 นาที เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมที่     จากการศึกษาพบว่าเมื่อท�าการประเมินความจ�า

              ท�าให้น�้ามันหอมระเหยผ่านเข้าสู่โพรงจมูกไปสู่สมอง   ซึ่งประยุกต์ใช้ Memory Test  กลุ่มที่ได้รับการสูด
                                                                                 [12]
              และส่งผลกระตุ้นการท�างานของสมอง ท�าให้เกิดการ  ดมน�้ามันหอมระเหยผักแขยงเปรียบเทียบก่อนและ
              เปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง (electroencepha-  หลังทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ

              lography : EEG) และส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทาง  กลุ่มที่ได้รับการสูดดมน�้ามันหอมระเหยหูเสือ โหระพา
              อารมณ์ ความตื่นตัว [13]                     และน�้ามันแก้ว ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง
                   ท�าการทดสอบโดยการประเมินความจ�า และ    สถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 2)
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58