Page 52 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 52
32 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
ของร่างกายจากการสร้างภาพสมอง การตรวจคลื่น experimental research) ท�าการศึกษาในนักศึกษา
ไฟฟ้าสมอง กระบวนการรู้คิด การนอนหลับ ส่วน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ ได้มีรายงานว่า สกลนคร กลุ่มตัวอย่าง จ�านวน 60 คน คัดเลือกแบบ
[8-9]
น�้ามันหอมระเหยบางชนิดที่ใช้มากในประเทศไทย เจาะจง โดยมีวิธีการจัดกลุ่มด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย
มีผลต่อสรีรวิทยาและอารมณ์ ความรู้สึก รวมทั้ง (sample random sampling) โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่าง
[10]
ระบบประสาทอัตโนมัติ คือท�าให้ความดันโลหิตและ ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ได้รับการสูดดมน�้ามัน
การหายใจเพิ่มขึ้น และเพิ่มความสามารถในด้านมิติ หอมระเหยผักแขยง กลุ่มที่ 2 ได้รับการสูดดมน�้ามัน
สัมพันธ์ คือ ช่วยเพิ่มความไวต่อการตอบสนอง [11] หอมระเหยหูเสือ กลุ่มที่ 3 ได้รับการสูดดมน�้ามันหอม
จากผลการศึกษาที่ผ่านมาพบความสัมพันธ์ระหว่าง ระเหยโหระพา และกลุ่มที่ 4 ได้รับการสูดดมน�้ามันแก้ว
การตอบสนองทางอารมณ์กับคลื่นสมอง มีทั้งความ 1.2. เกณฑ์ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
สัมพันธ์เชิงบวก (คลื่นสมองแบบอัลฟ่ากับความผ่อน การคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีคุณสมบัติตรง
คลาย) และเชิงลบ (คลื่นสมองแบบเบต้ากับความผ่อน ตามที่ก�าหนดไว้ ดังนี้
คลาย) ผลต่าง ๆ ที่มีรายงานมาก่อนหน้านี้ เป็นข้อมูล เกณฑ์การคัดเข้า (inclusion criteria) มีดังนี้
สนับสนุนเชิงวิทยาศาสตร์ว่าน�้ามันหอมระเหยมีผลต่อ 1) ไม่จ�ากัดเพศ มีอายุระหว่าง 18-35 ปี 2) มีสุขภาพดี
มนุษย์ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ และความรู้สึก [10] แข็งแรง สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ 3) สามารถควบคุม
ดังนั้น การศึกษานี้ จึงมีความสนใจที่จะศึกษา การท�างานของมือ นิ้วมือได้ 4) ไม่มีภาวะความผิดปกติ
ประสิทธิผลของการสูดดมน�้ามันหอมระเหยที่สกัด ของความจ�าและอารมณ์ 5) ไม่เป็นโรคของระบบทาง
จากสมุนไพรต่อความจ�าและอารมณ์ในนักศึกษา เดินหายใจ เช่น ไซนัส โรคหวัด หรือทางเดินหายใจอุด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต กั้น และ 6) ไม่มีภาวะความผิดปกติทางจิต เช่น โรค
สกลนคร โดยน�าสมุนไพรท้องถิ่น ประกอบด้วย ผัก วิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคจิตเภท โรคสมองเสื่อม
แขยง [Limnophila aromatica (Lam.) Merr.] หูเสือ หรือโรคเครียด
[Plectranthus amboinicus (Lour.) Spreng.] และ เกณฑ์การคัดออก (exclusion criteria) มีดังนี้
โหระพา (Ocimum basilicum L.) มาท�าการศึกษา 1) มีความผิดปกติในด้านการรับกลิ่นหรือการดม
เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพทางด้านความ กลิ่น 2) มีความผิดปกติของภาวะความจ�าและอารมณ์
จ�าและอารมณ์ รวมถึงการส่งเสริมการใช้สมุนไพร 3) มีประวัติของการแพ้กลิ่นหรือสมุนไพร และ 4) มี
ท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพต่อไป โรคประจ�าตัว เช่น โรคภูมิแพ้ ความดันโลหิตสูง โรค
ลมชัก
ระเบียบวิธีศึกษ�
2. วิธีก�รศึกษ�
1. วัสดุ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมน�้ามันหอมระเหย จาก
1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง โรงงานกลั่นน�้ามันหอมระเหยเชิงพาณิชย์ต้นแบบ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต