Page 265 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 265

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  495




            โดยในงานที่เป็น RCT พบว่าในกลุ่มที่ได้รับ acar-  การรับประทานที่ง่ายกว่า สิ่งเหล่านี้ก็เป็นปัจจัยที่ส่ง
            bose มีอุบัติการณ์การเกิดเบาหวานเท่ากับร้อยละ   ผลให้มีประโยชน์ และการใช้งานที่แตกต่างกันในยา

            32 ในขณะที่กลุ่มที่ใช้ยาหลอกเท่ากับร้อยละ 42   ทั้งสองชนิด
            (RR 0.75, 95%CI 0.63–0.90) แต่อย่างไรก็ตามมีถึง      ประการต่อมาคือ ผลการศึกษาทั้ง 2 งานมุ่งเน้น
            ร้อยละ 25 ที่หยุดการรักษาในช่วงเริ่มต้น โดยมาก  ผลการศึกษาที่แตกต่างกันโดยงานแรก จะมุ่งเน้นการ
                                                                ้
            แล้วเกิดจากการทนต่ออาการทางระบบทางเดินอาหาร  ลดระดับนำาตาล เพื่อป้องกันการเกิดเบาหวานในกลุ่ม
                                                                ้
            ไม่ได้                                      ที่มีระดับนำาตาลอดอาหารสูง ในขณะที่อีกการศึกษา
                 แต่เมื่อหยุดยาแล้ว พบว่า มีร้อยละ 15 ที่เกิด  เป็นการเปรียบเทียบในกลุ่ม metabolic syndrome

            เบาหวาน ภายใน 3 เดือนภายหลังจากหยุดยา ใน    ซึ่งมีความแตกต่างในหลายประเด็นที่นอกเหนือจาก
                                                              ้
            ขณะที่กลุ่มที่ได้รับยาหลอกมีเพียงร้อยละ 10.5   ระดับนำาตาล
            อย่างไรก็ตามกลุ่มที่ได้รับ acarbose ลดการเกิดอุบัติ     แต่จากข้อมูลที่ได้ พบว่าสารสกัดเคอร์คูมินที่ได้

            การณ์ของโรคหลอดเลือดหัวใจลงได้จาก ร้อยละ 4.7   จากขมิ้นชัน และยา acarbose ต่างก็มีประสิทธิผลใน
            เป็น ร้อยละ 2.1 [hazard ratio (HR) 0.51, 95%CI   การลดอุบัติการณ์การเกิดเบาหวาน โดยในสารสกัด

            0.28–0.95] [10]                             เคอร์คูมิน สามารถป้องกันการเกิดเบาหวานได้ดีกว่า
                                                        ยาหลอก ร้อยละ 0 เทียบกับ 16.4 และใน acarbose
                           อภิปร�ยผล                    เท่ากับร้อยละ 32 เทียบกับร้อยละ 42 เนื่องจากยาทั้ง

                 ถึงแม้ว่าผลที่ได้จากการศึกษาทางคลินิกของทั้ง   คู่มีประสิทธิผลในการลดอัตราการเกิดเบาหวาน จึง

            acarbose และ curcumin จะมีผลในการป้องกันการ  มีความจำาเป็นที่ต้องมีการศึกษาเปรียบเทียบถึงความ
            เกิดเบาหวาน และลดการหนาตัวของเส้นเลือดได้ทั้งคู่   คุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ต่อไป โดยหากมีความคุ้มค่า

            แต่กลไกการออกฤทธิ์ต่างกัน โดยที่ acarbose เกิด  และภาระงบประมาณเป็นไปได้ การตัดสินใจให้มีการ
                                  [13]
            จากการยับยั้งการดูดซึมแป้ง  ในขณะที่ curcumin   ปรับข้อบ่งชี้การใช้ยาทั้ง 2 ในการป้องกันเบาหวาน ก็จะ
            มีการออกฤทธิ์ที่ซับซ้อนในหลาย ๆ กลไก เช่น การ   เป็นสิ่งที่ควรแนะนำา ในการปรับปรุงบัญชียาหลักแห่ง

                          [25]
            กระตุ้น PPAR-g  และการเพิ่มอินซูลินในเลือด จึง  ชาติต่อไป การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายในการทบทวนการ
            เป็นเหตุหนึ่งที่อาจจะไม่มีการทำาวิจัยเพื่อเปรียบเทียบ  ใช้ยาขมิ้นชัน แต่ข้อมูลที่ใช้เป็นสารสกัดเคอร์คูมินที่
            แบบตรง ๆ ในยาทั้งสองตัวดังกล่าว จากกลไกที่แตก  เป็นองค์ประกอบหลักในขมิ้นชัน จึงทำาการทดสอบ

            ต่างกันทำาให้ประโยชน์ที่ได้อาจจะมีความแตกต่างกัน  เชิงอภิมานของสารสกัดเคอร์คูมินในขมิ้นชันเท่านั้น
            บ้าง และอาการข้างเคียงก็พบว่าแตกต่างกันมากเช่น  สำาหรับการศึกษาครั้งต่อไป ควรมีการเปรียบเทียบ
            กัน ซึ่งยา acarbose มีอาการข้างเคียงที่สำาคัญคือ   network meta-analysis ทั้งในด้านประสิทธิผล

            ท้องอืด และปวดท้อง  ขณะที่การรับประทานขมิ้น  การลดการเกิดเบาหวาน และผลข้างเคียงโดยเฉพาะ
                             [34]
            ชันจะไม่มีอาการเหล่านั้น และยังสามารถลดอาการ  อุบัติการณ์การเกิดเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับหลอดเลือด

            ท้องอืดได้ด้วย แต่ข้อเสียที่สำาคัญของขมิ้นชันคือ   โดยมีประเด็นที่สำาคัญคือ การลดความเสี่ยงของการ
            ต้องรับประทานยาปริมาณมาก ทำาให้ยา acarbose มี  เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ อนึ่งมีหนึ่งในการศึกษาที่
   260   261   262   263   264   265   266   267   268   269   270