Page 206 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 206
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563 Vol. 18 No. 3 September-December 2020
ปกิณกะ
ขมิ้นอ้อย (KHAMIN-OI)
คณะอนุกรรมการจัดทำาตำาราอ้างอิงยาสมุนไพรไทย*
ในคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
บทความนี้นำาเสนอยาสมุนไพรแต่ละชนิด ที่คณะอนุกรรมการฯ จัดทำาขึ้นก่อนรวบรวมจัดพิมพ์
เป็นรูปเล่ม “ตำาราอ้างอิงยาสมุนไพรไทย” เพื่อเป็นเวทีประชาพิจารณ์
Rhizoma Curcumae
ขมิ้นอ้อยเป็นเหง้าแห้งของพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
Curcuma sp. “Khamin-Oi” ในวงศ์ Zingibera-
ceae [1-4]
ชื่ออื่น ขมิ้นขึ้น, ขมิ้นหัวขึ้น, ว่านหัวตั้ง, สาก
กะเบือละว้า
[1-4]
ลักษณะพืช ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ขึ้นเป็นกอ
เหง้าสีเหลืองนวล กลิ่นคล้ายการบูร กาบใบเรียงสลับ
และโอบซ้อนกันชูเหนือดินเป็นลำาต้นเทียมสูงประมาณ เซนติเมตร ก้านใบยาวประมาณ 5 เซนติเมตร ลิ้นใบมี
1 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยว มี 4-6 ใบ เรียงสลับ รูปขอบ ขนครุย ช่อดอก แบบช่อเชิงลด ออกจากเหง้า รูปทรง
ขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 8-10 กระบอก กว้าง 4–5 เซนติเมตร ยาว 10-14 เซนติเมตร
เซนติเมตร ยาว 20-60 เซนติเมตร ปลายแหลมถึงเรียว ก้านช่อยาว 9–12(–27) เซนติเมตร ใบประดับเรียงซ้อน
แหลม โคนรูปลิ่ม ขอบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ผิว กัน ขอบเชื่อมติดกันจากโคนขึ้นมาเกือบกลางแผ่น
ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนนุ่ม กว้างประมาณ 1.5 ใบประดับที่เป็นหมันเรียงอยู่ปลายช่อ สีชมพูหรือ
*ประธานอนุกรรมการ นพ. วิชัย โชควิวัฒน, รองประธานอนุกรรมการ รศ.ดร. ชยันต์ พิเชียรสุนทร, อนุกรรรมการ ศ.ดร. พเยาว์
เหมือนวงษ์ญาติ, รศ. กัลยา ภราไดย, รศ.ดร. วันดี กฤษณพันธ์, รศ.ดร. รพีพล ภโววาท, นายวินิต อัศวกิจวิรี, นพ. ปราโมทย์
เสถียรรัตน์, ดร. ก่องกานดา ชยามฤต, นางจารีย์ บันสิทธิ์, น.ส.นันทนา สิทธิชัย, นางนัยนา วราอัศวปติ, นางเย็นจิตร เตชะดำารงสิน,
นางอภิญญา เวชพงศา, นายวุฒิ วุฒิธรรมเวช, ผศ. ร.ต.อ.หญิง สุชาดา สุขหร่อง, นายยอดวิทย์ กาจญจนการุณ, นางพรทิพย์
เติมวิเศษ, อนุกรรมการและเลขานุการ ดร. อัญชลี จูฑะพุทธิ, อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ น.ส. สารินี เลนะพันธ์, นางบุษราภรณ์
จันทา, น.ส.จิราภรณ์ บุญมาก, ว่าที่ ร.ต. ทวิช ศิริมุสิกะ
638