Page 54 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 54
276 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
sample และสารสกัดบัวบกที่เตรียมขึ้นในห้องปฏิบัติการ
C 2 คือ ความเข้มข้นของสารใน sample วิเคราะห์ปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์ (AS,
blank MS, AA และ MA) ในวัตถุดิบสมุนไพรบัวบก จ�านวน
C 3 คือ ความเข้มข้นของสารที่เติมไป 9 ตัวอย่าง ด้วยวิธีที่พัฒนาขึ้นในข้อ 1.5
(analyte) 3.2 การวิเคราะห์ปริมาณสารไทรเทอร์
2.3 ขีดจำากัดของการตรวจพบ (limit of พีนส์ [asiaticoside (AS), madecassoside (MS),
detection, LOD) asiatic acid (AA) และ madecassic acid (MA)]
LOD ค�านวณจากจุดตัดของกราฟมาตรฐาน ในสารสกัดบัวบกที่ขายในท้องตลาด (commercial
ที่ใช้เตรียม sample blank เมื่อกราฟมาตรฐานโดยใช้ extract)
spiked sample blank ที่ 6 ระดับความเข้มข้นของ วิเคราะห์ปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์ (AS,
้
สารมาตรฐาน ระดับละ 3 ซ�า จากนั้นค�านวณค่าเบี่ยง MS, AA และ MA) ในสารสกัดบัวบก ที่มีจ�าหน่าย
เบนมาตรฐานของ y–intercept (Sy/x) และค�านวณค่า ในท้องตลาด จ�านวน 2 ตัวอย่าง ด้วยวิธีที่พัฒนาขึ้นใน
LOD โดยค่า LOD คือค่าความเข้มข้นที่ response กับ ข้อ 1.5 น�ามาเปรียบเทียบกับสารสกัดบัวบกที่เตรียม
y-intercept + 3Sy/x (ค�านวณจากกราฟมาตรฐาน ขึ้นในห้องปฏิบัติการ
ของสารแต่ละชนิด)
2.4 ขีดจำากัดของการวัดเชิงปริมาณ (limit ผลก�รศึกษ�
of quantitation, LOQ) 1. การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปริมาณสารไทร-
LOQ ค�านวณโดย LOQ มีค่าเท่ากับ 10 เท่า เทอร์พีนส์ ในวัตถุดิบบัวบก
ของ Sy/x (ค�านวณจากกราฟมาตรฐานของสารแต่ละ 1.1 ชนิดของตัวทำาละลายในการสกัด
ชนิด) ผลการศึกษาพบว่า เมื่อน�าสารละลายที่ได้
2.5 ความจำาเพาะ (specificity) จากการสกัดบัวบกด้วย methanol, 50% v/v metha-
วิเคราะห์ method blank โดยสกัดและ nol และ น�้ากลั่น มาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง UPLC พบ
วิเคราะห์ตามวิธีที่พัฒนาใช้สารเคมีทั้งหมด แต่ไม่มี peak ของ AS, MS, AA และ MA ที่ retention time
ตัวอย่างเพื่อตรวจสอบสารรบกวนที่อาจมาจากสาร 0.928-0.930, 0.836-0.839, 1.602-1.604 และ 1.424-
เคมีหรืออุปกรณ์ที่ใช้ 1.427 นาที ตามล�าดับ โดยการสกัดสารกลุ่มไทรเทอร์-
3. การวิเคราะห์ปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์ พีนส์ ด้วย methanol ให้ปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์
[asiaticoside (AS), madecassoside (MS), asiatic สูงสุด (ภาพที่ 3)
acid (AA) และ madecassic acid (MA)] ใน ดังนั้น ในการพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปริมาณ AS,
วัตถุดิบและสารสกัดบัวบก MS, AA และ MA ในบัวบก จึงเลือกใช้ methanol
3.1 การวิเคราะห์ปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์ เป็นตัวท�าละลายอินทรีย์ในการสกัดตัวอย่างบัวบก
[asiaticoside (AS), madecassoside (MS), asiatic 1.2 ระยะเวลาที่เหมาะสมในการสกัด
acid (AA) และ madecassic acid (MA)] ในวัตถุดิบ ผลการศึกษาพบว่า เมื่อสกัดตัวอย่างบัวบก