Page 205 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 205

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  555




            ทางก้านหลายแฉก ดอกสีเขียว ช่อดอกเพศผู้และช่อ  และหนังสือเชิงอัตชีวประวัติของศาสตราภิชาน ล้อม
            ดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ใบช่อและดอกเพศเมียที่  เพ็งแก้ว ก็ไม่กล่าวถึงกัญชาเลย

            แห้งเรียกกะหลี่กัญชา ใช้สูบปนกับยาสูบ มีสรรพคุณ     ในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องชีวิตของ
            ทำาให้มึนเมา เปลือกลำาต้นใช้ทำาเชือกป่าน และทอผ้า [36]  ประเทศ ซึ่งฉากเหตุการณ์เป็นเรื่องราวตั้งแต่สมัยกรุง
                                                        ศรีอยุธยาตอนปลายจนถึงรัชกาลที่ 5 มีเรื่องราวของ
                           บทวิจ�รณ์                    อาหารและยาจำานวนมาก ก็ไม่มีการเอ่ยถึงกัญชาเลย

                 กัญชาเป็นพืชที่มีประวัติการใช้มายาวนานนับ     ตำารายาที่เข้ากัญชาในตำาราโบราณ คือ ตำาราพระ
            พันปี โดยนำามาใช้ประโยชน์ 4 อย่างคือ (1) เป็นยา   โอสถพระนารายณ์ ซึ่งมีตำารับยารวม 81 ตำารับ มี 3

            (2) เป็นอุปกรณ์สันทนาการ (3) ใช้ในพิธีกรรม และ   ตำารับที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ตำารายานี้และตำารา
                                          [37]
            (4) เปลือกลำาต้นใช้ทำาเครื่องใช้ต่าง ๆ  แต่กัญชา  ยาในชั้นหลังมีตำารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบรวม
            น่าจะมิใช่พืชสำาคัญที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของ  ทั้งสิ้น 90 ตำารับ โดยกัญชาอาจไม่ใช่ตัวยาสำาคัญ ดัง

            ชาวไทยสมัยก่อน เพราะไม่ปรากฏมีการกล่าวถึงใน  ตำารับยาอไภยสาลีที่เคยจัดเป็นยาสมุนไพรในบัญชียา
            ศิลาจารึกตั้งแต่สมัยสุโขทัยและพระราชพงศาวดาร   หลักแห่งชาติ ก็ตัดกัญชาออก [33]

                                                                                   ,
            ต่าง ๆ ซึ่งมีการกล่าวถึงพืชพรรณไม้หลายชนิด เช่น      เมนูอาหารต่าง ๆ ทั้งของยาย  รงค์ วงษ์สวรรค์
            หมาก มะพร้าว ขนุน มะม่วง มะขาม พลู ตาล และ  ซึ่งเป็นนักประพันธ์ที่ประกาศโดยเปิดเผยว่านิยมเสพ
            กล่าวถึงสัตว์ต่าง ๆ เช่น หมู หมา เป็ด ไก่ ห่าน นก   กัญชา และของวาณิช จรุงกิจอนันต์ ก็ไม่มีรายการใดที่

            ปลา เนื้อ แพะ ในเอกสารของชาวต่างประเทศเช่น ลา   ใช้กัญชาเป็นเครื่องปรุง มีที่กล่าวถึงการใช้กัญชาผสม
                                                                          ้
            ลูแบร์ ซึ่งบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ในรัชสมัยสมเด็จพระ-  ก็คือก๋วยเตี๋ยวเนื้อของนำาพุ และ “แกงเผ็ด แกงเขียว
            นารายณ์มหาราชไว้โดยพิสดาร ก็ไม่กล่าวถึงกัญชาเลย   หวาน และ … ก๋วยเตี๋ยวเจ้าหนึ่ง’’ ที่นิพัทธ์พรเอ่ยถึง
            พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1-4 ก็  ไว้ [6]
            ไม่กล่าวถึงกัญชา เช่นกัน                         ในพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพิธีถือนำ้าพิพัฒน์สัตยา พิธี

                 เมื่อ พ.ศ. 2556 พบหลักฐานทางโบราณคดี คือ   ดำานำ้าลุยไฟในวิธีสืบพยานของตุลาการไทยแต่โบราณ
            เรือพนมสุรินทร์ในนากุ้งแห่งหนึ่งที่จังหวัดสมุทรสาคร   ก็ไม่ปรากฏว่ามีการนำากัญชามาใช้เหมือนอย่างใน
            เป็นหลักฐานยุคสมัยในวัฒนธรรมทวารวดี เมื่อราว   พิธีกรรมของอารยธรรมอื่น ดังปรากฏในวรรณคดีขุน

                                                                                          [25]
            1,200 ปีมาแล้ว เป็นเรืออาหรับ พบพืชได้แก่ จันทน์  ช้างขุนแผนตอนขุนช้างกับพระไวยดำานำ้าพิสูจน์ และ
            เทศ หมาก มะพร้าว ข้าว ต้นหญ้า ไม้ไผ่ ก้อนยางไม้   ตอนสร้อยฟ้า-ศรีมาลา ลุยไฟ ที่บรรยายเหตุการณ์
                                                                              [25]
              ้
            นำามันดิน และพืชที่ยังไม่สามารถระบุชนิดได้ ไม่กล่าว  ไว้ค่อนข้างชัดเจน ไม่มีผู้ใดนำากัญชามาใช้เลย
            ถึงกัญชา [38]                                    ในวรรณคดีขุนช้างขุนแผน ชัดเจนว่ากัญชา
                 เอกสารชั้นหลัง เช่น เรื่องชีวิตชาวไทยสมัย  เป็นของน่ารังเกียจ และใช้กันในหมู่คนชั้นล่างและ

            ก่อน การศึกษาเรื่องประเพณีไทย และฟื้นความ   นักโทษ รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือมอมเมาศัตรู แม่ทัพ
            หลังของพระยาอนุมานราชธน นักปราชญ์คนสำาคัญ   นายกองของขุนแผนรวม 35 คน ซึ่งล้วนเป็นนักโทษ
            ของไทย รวมทั้งนิทานชาวไร่ ของ น.อ.สวัสดิ์ จันทนี   ใช้กัญชาและยาเสพติดอื่น ๆ เป็นปกติวิสัย ผิดกับ
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210