Page 59 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 59
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 1 Jan-Apr 2019 49
[9]
ตัดสินใจเลือกรูปแบบการดูแลรักษาความเจ็บป่วย สามารถในการดูแลตนเอง (self-care agency)
ของครัวเรือนด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน ส่วนใหญ่ ในส่วนที่ประชาชนเลือกรูปแบบการรักษาด้วย
เป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพดี มีข้อมูลทางสุขภาพ การแพทย์ทางเลือกจะสอดคล้องกันกับการเลือกรูป
มากพอที่จะรับบริการ และมีความสามารถที่จะเข้าถึง แบบการรักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน และรูป
บริการสุขภาพได้ ซึ่งการรักษาพยาบาลรูปแบบการแพทย์ แบบการรักษาด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้านของประชาชน
แผนปัจจุบัน ผู้ที่ให้การรักษาจะต้องสำาเร็จการศึกษาวิชาชีพ เพียงแต่มีประเด็นการรับรู้เข้ามาเพิ่มเพื่อการตัดสินใจ
แพทย์ และได้รับใบประกอบวิชาชีพจากแพทยสภา แล้วนำา นั้นหมายความว่า การที่จะเลือกรูปแบบการรักษาด้วย
มาใช้ประกอบวิชาชีพรักษาโรคต่าง ๆ รวมทั้งโรคมะเร็ง การแพทย์ทางเลือก นอกจากจะเป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยว
ได้ อาจจะเป็นแพทย์ทั่วไป หรือแพทย์เฉพาะทางก็ได้ กับสุขภาพดี มีข้อมูลทางสุขภาพมากพอที่จะรับบริการ
ดังนั้นส่วนใหญ่กลุ่มประชาชนผู้ที่มีความรู้เกี่ยว และมีความสามารถที่จะเข้าถึงบริการสุขภาพได้แล้ว
กับสุขภาพดี มีข้อมูลทางวิชาการด้านสุขภาพมาก ยังต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ จากสื่อโทรทัศน์ วิทยุ
พอ จะเลือกใช้รูปแบบการดูแลรักษาความเจ็บป่วย หนังสือพิมพ์ อินเตอร์เน็ต สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจ
ของครัวเรือนด้วยรูปแบบนี้ ซึ่งจะเห็นได้จากการได้ ในรูปแบบที่หลากหลายมาประกอบการตัดสินใจ ทั้งนี้
รับแรงสนับสนุนจากคนในครัวเรือน และเจ้าหน้าที่ ขึ้นอยู่กับทัศนคติ ประสบการณ์ ความเชื่อ และแรง
สาธารณสุขอีกด้วย ซึ่งการดูแลตนเองที่จำาเป็นต้อง จูงใจของบุคคลที่ได้รับ [10-11] ซึ่งรูปแบบการรักษาด้วย
แสวงหาข้อมูล แสวงหาความช่วยเหลือจากบุคคล การแพทย์ทางเลือกเป็นวิธีรักษาโรคที่ไม่ใช่การแพทย์
อื่นที่เชื่อถือได้ เช่น บุคคลในครัวเรือน และเจ้าหน้าที่ แผนปัจจุบัน มักเป็นวิธีการเดียวกับการแพทย์เสริม
ทางด้านสุขภาพอนามัย ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานบางส่วน จึงเป็นสาเหตุให้มักจะรวมการแพทย์ทั้งสองชนิดนี้
ของการดูแลตนเอง ได้แก่ ความต้องการดูแลตนเอง ไว้ด้วยกัน เรียกว่า การแพทย์เสริมและการแพทย์ทาง
ทั้งหมด (therapeutic self-care demand) และความ เลือก (complementary and alternative medicine)
ตารางที่ 2 คว�มสัมพันธ์ระหว่�งก�รเลือกรูปแบบก�รดูแลรักษ�คว�มเจ็บป่วยของครัวเรือนกับปัจจัยนำ� ปัจจัยเอื้อและ
ปัจจัยเสริม
ปัจจัยเสริม ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยนำา
รูปแบบการรักษา แรงสนับสนุนในการ ความ ในการดูแล
ดูแลสุขภาพ สามารถ สุขภาพ
บุคคลใน เพื่อนหรือ เจ้าหน้าที่ การเข้าถึง การได้รับ ความรู้ การรับรู้
ครัวเรือน บุคคล สาธารณสุข หน่วย ข้อมูลข่าวสาร
ใกล้ชิด บริการสุขภาพ ด้านสุขภาพ
ก�รแพทย์แผนปัจจุบัน √ × √ √ √ √ ×
ภูมิปัญญ�พื้นบ้�น √ × √ √ √ √ ×
ก�รแพทย์แผนไทย × √ × √ √ √ √
ก�รแพทย์ท�งเลือก √ × √ √ √ √ √