Page 57 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 57

J Thai Trad Alt  Med                                   Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  47




            เรือน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังในครัวเรือน ดังตารางที่ 1  พื้นบ้าน การรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือก ความ
                                                        สามารถในการเข้าถึงหน่วยบริการสุขภาพ ช่องทางที่
            2. คว�มสัมพันธ์ระหว่�งรูปแบบก�รดูแลรักษ�    ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ความรู้ และการรับรู้
            คว�มเจ็บป่วยของครัวเรือนกับปัจจัยนำ� ปัจจัย  เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
            เอื้อและปัจจัยเสริม                              2.4 การเลือกรูปแบบการรักษาด้วยการแพทย์

                 ผลการวิเคราะห์พบว่า รูปแบบการดูแลรักษา  ทางเลือก

            ความเจ็บป่วยของครัวเรือนมีความสัมพันธ์กับปัจจัย     พบว่า มีความสัมพันธ์กับแรงสนับสนุนในการ
            นำา ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริม จำาแนกได้ดังต่อไปนี้  ดูแลสุขภาพจากบุคคลในครัวเรือน แรงสนับสนุนใน
                 2.1 การเลือกรูปแบบการรักษาด้วยการแพทย์  การดูแลสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข การรักษา

            แผนปัจจุบัน                                 ด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน การรักษาด้วยภูมิปัญญาพื้น
                 พบว่า มีความสัมพันธ์กับแรงสนับสนุนในการ  บ้าน ความสามารถในการเข้าถึงหน่วยบริการสุขภาพ
            ดูแลสุขภาพจากบุคคลในครัวเรือน จากเจ้าหน้าที่  ช่องทางที่ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และความ

            สาธารณสุข การรักษาด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้าน การ  รู้ และการรับรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ อย่างมีนัย
            รักษาด้วยแพทย์แผนไทย การรักษาด้วยแพทย์ทาง   สำาคัญทางสถิติ

            เลือก ความสามารถในการเข้าถึงหน่วยบริการสุขภาพ
            ช่องทางที่ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และความรู้   3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อก�รเลือกรูปแบบก�ร
            อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ                    ดูแลรักษ�คว�มเจ็บป่วยของครัวเรือน

                 2.2 การเลือกรูปแบบการรักษาด้วยภูมิปัญญา     จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลอิทธิพลของปัจจัย
            พื้นบ้าน                                    นำา ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริมที่มีต่อการเลือกรูปแบบการ

                 พบว่า มีความสัมพันธ์กับแรงสนับสนุนในการ  ดูแลรักษาความเจ็บป่วยด้วยค่าสมการความสัมพันธ์
            ดูแลสุขภาพจากบุคคลในครัวเรือน แรงสนับสนุนใน  โครงสร้าง (Structure Equation Modeling; SEM)
            การดูแลสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข การรักษา     จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลอิทธิพลของปัจจัยนำา

            ด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน การรักษาด้วยแพทย์แผน   ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริมที่มีต่อการเลือกรูปแบบการดูแล
            ไทย การรักษาด้วยแพทย์ทางเลือก ความสามารถใน  รักษาความเจ็บป่วย ได้สมการความสัมพันธ์โครงสร้าง
            การเข้าถึงหน่วยบริการสุขภาพ ช่องทางที่ได้รับข้อมูล  การเลือกรูปแบบการดูแลรักษาความเจ็บป่วยของครัว

            ข่าวสารด้านสุขภาพ และความรู้ อย่างมีนัยสำาคัญทาง  เรือน พบว่า ปัจจัยนำาได้รับค่านำ้าหนักจากตัวบ่งชี้ด้าน
            สถิติ                                       ความรู้ในการดูแลสุขภาพ (l = 0.35;T-value =
                                                                               x

                 2.3 การเลือกรูปแบบการรักษาด้วยการแพทย์  4.31) อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในขณะ
            แผนไทย                                      ที่ตัวบ่งชี้ด้านการรับรู้ในการดูแลสุขภาพไม่มีนัย
                 พบว่า มีความสัมพันธ์กับแรงสนับสนุนในการ  สำาคัญทางสถิติ ส่วนปัจจัยเอื้อได้รับค่านำ้าหนักจากตัว

            ดูแลสุขภาพจากเพื่อนหรือบุคคลใกล้ชิด การรักษา  บ่งชี้ด้านการเข้าถึงบริการ (l = 0.22;T-value = 4.84)
                                                                             Y

            ด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน การรักษาด้วยภูมิปัญญา  อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในขณะที่ตัว
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62