Page 55 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 55

J Thai Trad Alt  Med                                   Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  45




            ทางการตลาด ปัจจัยทางสังคมและปัจจัยทางจิตวิทยา  การสำารวจด้วยแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบ
            ที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์  คุณภาพแล้ว การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา

            อาหารสุขภาพ ซึ่งยังละเลยการตัดสินใจเลือกรูปแบบการ  มี 4 หมวดข้อคำาถามประกอบด้วย (1) หมวดข้อ
            ดูแลรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วย และการอธิบาย  คำาถามเกี่ยวกับปัจจัยนำา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการ
            อิทธิพลของปัจจัยทางสังคมที่มีต่อการเลือกรูปแบบการ  ดูแลสุขภาพและการรับรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

            ดูแลรักษาความเจ็บป่วยในระดับครัวเรือน จากปัญหา  (2) หมวดข้อคำาถามเกี่ยวกับปัจจัยเอื้อ ได้แก่ ความ
            ดังกล่าวทำาให้ผู้วิจัย ต้องการที่จะค้นหาคำาตอบว่า ปัจจัย  สามารถในการเข้าถึงหน่วยบริการสุขภาพ ช่องทางที่
            ทางสังคมที่ประกอบด้วย ปัจจัยนำา ปัจจัยเอื้อ และปัจจัย  ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ (3) หมวดข้อคำาถาม

            เสริม มีปัจจัยใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อการเลือกรูปแบบการ  เกี่ยวกับปัจจัยเสริม ได้แก่ แรงสนับสนุนในการดูแล
            ดูแลรักษาความเจ็บป่วยของสมาชิกในครัวเรือน โดย  สุขภาพ (4) หมวดข้อคำาถามเกี่ยวกับการเลือกรูปแบบ
            กำาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ (1) อธิบายระดับ  การดูแลรักษาความเจ็บป่วยของครัวเรือน โดยการ

            ของปัจจัยนำา ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมในการเจ็บป่วย  ประเมินค่า IOC ทุกข้อมีค่า IOC > 0.5 และวิเคราะห์
            ของครัวเรือน (2) ศึกษาระดับการเลือกรูปแบบการดูแล  ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยนำาไปทดลอง

            รักษาความเจ็บป่วยของครัวเรือน (3) วิเคราะห์อิทธิพล  ใช้กับกลุ่มตัวอย่างในอำาเภอที่ไม่ถูกเลือกศึกษา
            ของปัจจัยทางสังคมที่มีต่อการเลือกรูปแบบการดูแล  จำานวน 30 ตัวอย่าง และได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ
            รักษาความเจ็บป่วยของครัวเรือน               เท่ากับ 0.89

                                                               2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
                        ระเบียบวิธีศึกษ�                ด้วยโปรแกรมสำาเร็จรูปคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์


                 1.  วัสดุ การวิจัยเป็นการศึกษาโดยการเก็บ  ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำา ปัจจัยเอื้อ และปัจจัย
            ข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ซึ่งประชากรที่ใช้ในการ  เสริมกับการเลือกรูปแบบการดูแลรักษาความเจ็บ
            ศึกษาเป็นครัวเรือนในอำาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร   ป่วยของครัวเรือน ด้วยสถิติ Pearson correlation

            จำานวนทั้งสิ้น 8,121 ครัวเรือน ผู้ตอบแบบสอบถาม  coefficient (r) และวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยนำา
            เป็นผู้แทนครัวเรือนหรือแกนนำาสุขภาพผู้ดูแลสุขภาพ  ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีต่อการเลือกรูปแบบ
            ในครัวเรือนจำานวน 380 ตัวอย่าง ที่ได้มาจากการสุ่ม  การดูแลรักษาความเจ็บป่วยของครัวเรือน ด้วยสถิติ

            แบบหลายขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ใช้วิธีการเลือก  Structure Equation Modeling (SEM)
            แบบเจาะจงเป็นอำาเภอพังโคน ขั้นที่ 2 สุ่มอย่างง่าย
            โดยการจับฉลากเพื่อให้ได้ตำาบลในอำาเภอ ได้ตำาบล            ผลก�รศึกษ�

            แร่ และขั้นที่ 3 สุ่มอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้ครัวเรือน
            ในตำาบลแร่ตามสัดส่วนความหนาแน่นของครัวเรือน  1. ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือน

            ที่จะลงเก็บข้อมูล                                จำาแนกการวิเคราะห์เป็นรายข้อ ซึ่งประกอบด้วย
                 2.  วิธีการศึกษา                       เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุดของครัวเรือน รายได้
                   2.1 การเก็บข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลโดย  ของครัวเรือนที่ได้รับต่อเดือน จำานวนสมาชิกในครัว
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60