Page 119 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 119

J Thai Trad Alt  Med                                   Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  109




            เป็นสมมติฐานในการวิจัยนี้ว่า ต�าแหน่งดวงอาทิตย์ที่     ก)  จ�าแนกผู้ป่วยที่ไม่ซ�้ากันจากข้อมูลรายการ
            ค�านวณได้จากวันเดือนปีเกิดของผู้ป่วย สามารถบอก  ผู้ป่วย

            แนวโน้มในการเจ็บป่วยได้ว่า เกิดจากธาตุทั้งสี่ ธาตุ     ข)  ค�านวณต�าแหน่งดวงอาทิตย์ในวันเดือนปี
            ใดธาตุหนึ่ง ก�าเริบ หย่อน หรือพิการตามที่กล่าวไว้ใน  เกิดของผู้ป่วยแต่ละคนว่าอยู่ในราศีใด (ราศีเกิด หรือ
            คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย                      ราศี)

                 โรงพยาบาลมีระบบงานคอมพิวเตอร์เก็บ           ค)  แจกแจงความถี่จ�าแนกตามรหัสโรค ICD-10
            ข้อมูลการรักษาของผู้ป่วยและมีการใช้ ICD-10 [19]   และราศีเกิด
            ในการลงรหัสโรคตามผลการวินิจฉัยของแพทย์ ดัง       ง)  ค�านวณสัดส่วนส�าหรับโรคหนึ่ง ๆ ว่ามีผู้

            นั้น ท�าให้สามารถใช้ข้อมูลผู้ป่วย ซึ่งมีทั้งวันเดือนปี  ป่วยในแต่ละราศีเกิดต่อจ�านวนผู้ป่วยทั้งหมดในราศี
                                                  [19]
            เกิดและโรคที่แพทย์วินิจฉัยตามรหัสโรค ICD-10    เกิดนั้น ๆ
            จากฐานข้อมูลของโรงพยาบาลน�ามาวิเคราะห์และ        จ)  ทดสอบว่าส�าหรับรหัสโรคใดโรคหนึ่งมี

            รายงานข้อมูลเชิงสถิติได้ โดยการหาต�าแหน่งของดวง  สัดส่วนจ�านวนผู้ป่วยในแต่ละราศีแตกต่างไปจาก
            อาทิตย์ ณ วันที่ผู้ป่วยเกิด ว่าดวงอาทิตย์สถิตอยู่ใน  สัดส่วนโดยรวมหรือไม่ โดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-

            ราศีใด หรือเรียกว่า “ราศีเกิด” หรือเรียกย่อว่า “ราศี”   square χ ) ในการทดสอบภาวะสารูปสนิทดี (good-
                                                                2
                                                                     [20]
            แล้วจ�าแนกข้อมูลในแต่ละรหัสโรคเพื่อหาสัดส่วน  ness of fit test) ซึ่งเป็นการทดสอบเชิงสถิติแบบ
            ผู้ป่วยโรคนั้น ๆ ในราศีหนึ่งเทียบกับผู้ป่วยทั้งหมด  นอนพาราเมตริก (nonparametric test) ใช้กับข้อมูล

            ในราศีนั้น แล้วพิจารณาว่า สัดส่วนผู้ป่วยที่เป็นโรค   ที่เลือกมาอย่างสุ่ม (random sampling) ไม่ค�านึงถึง
            หนึ่ง ๆ ในแต่ละราศี (12 ราศี) มีความแตกต่างไปจาก  การกระจายของข้อมูลว่าเป็นแบบปกติหรือไม่ (nor-

            สัดส่วนเฉลี่ยโดยรวมของผู้ป่วยโรคนั้นหรือไม่ โดย  mal distribution) ค่าที่ทดสอบเป็นจ�านวนนับของ
            วิธีนี้จะสามารถวิเคราะห์ได้ว่า ส�าหรับผู้ที่เกิดในราศี  ตัวแปรที่เป็นประเภทต่าง ๆ (category) มากกว่าที่จะ
            ใดราศีหนึ่ง จะมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคตามธาตุทั้งสี่   เทียบค่าสัดส่วนหรือร้อยละตรง ๆ จ�านวนนับในแต่ละ

            ก�าเริบ หย่อน หรือพิการ ตามที่ระบุในคัมภีร์สมุฏฐาน  เซลล์ที่ใช้เปรียบเทียบควรมีมากกว่า 5 จ�านวนร้อย
            วินิจฉัยสอดคล้องกับโรคใดในปัจจุบัน ผลงานวิจัยนี้  ละ 80 ของเซลล์ ค่าสถิติไคสแควร์ที่ระดับนัยส�าคัญ
            จะเป็นจุดเริ่มต้นการวิจัยหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยว  (significant level a) และองศาเสรี (degrees of

            กับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยร่วมสมัย          freedom df.) ที่ก�าหนดสามารถหาได้จากตารางส�าเร็จ
                                                        [21]  หรือ จากการค�านวณค่า p-value ซึ่งมีสูตรส�าเร็จใน
                        ระเบียบวิธีศึกษ�                โปรแกรมส�าเร็จรูปที่มีการค�านวณแบบตารางอยู่แล้ว


                 การวิจัยนี้ ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ      ขั้นตอนการประมวลข้อมูลดังแสดงในภาพที่ 1
            พิจารณาการศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์แผนไทย       ในการศึกษานี้ส�าหรับรหัสโรคหนึ่ง สมมติฐาน

            และการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและ    หลัก H : สัดส่วนผู้ป่วยในแต่ละราศีไม่แตกต่างกัน
                                                              0
            การแพทย์ทางเลือก รหัสโครงการวิจัย 08-2560 เมื่อ   และ สมมติฐานรอง H : สัดส่วนผู้ป่วยในแต่ละราศีมี
                                                                         a
            2 ตุลาคม 2560 และมีขั้นตอนการศึกษาประกอบด้วย   ความแตกต่างกัน
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124