Page 76 - ภาพนิ่ง 1
P. 76
70 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
กับการทาเจลที่ไม่มีตัวยา โดยพบอาการข้างเคียง หวาน 170 คน ที่มารักษาที่ภาควิชาศัลยศาสตร์
สำคัญ คือ อาการแสบร้อนบริเวณผิวหนังที่ทา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เจลแคปไซซินในผู้ป่วย 67% แต่ไม่มีผู้ป่วยถอน โดยแบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มให้ยาหลอก
ตัวจากการศึกษาด้วยเหตุดังกล่าว จึงสรุปได้ว่า และกลุ่มที่ให้แคปซูลสารสกัดบัวบกขนาด 50
เจลแคปไซซิน ขนาด 0.125% มีประสิทธิผลใน มิลลิกรัมของสารสกัดเอเซียทิโคไซด์ ครั้งละ 2
การบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อม ในผู้ป่วยที่มีความ แคปซูลวันละ 3 ครั้งหลังอาหาร เป็นเวลา 21 วัน
รุนแรงของโรคน้อยถึงปานกลาง โดยอาการแสบ ทั้ง 2 กลุ่มได้รับการรักษาเบาหวานและแผลเช่น
ร้อนที่ผิวหนังบริเวณที่ทาก็น้อยกว่าการศึกษา เดียวกัน โดยตรวจร่างกายและแผลในวันที่ 7, 14
ก่อนหน้านี้ และ 21 ผลการศึกษาพบว่าแผลในกลุ่มที่ได้รับ
สารสกัดบัวบกจะหายเร็วกว่ากลุ่มยาหลอก โดย
สารสกัดจากบัวบกช่วยทำให้แผลหาย ไม่พบอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ ในทั้ง 2
กลุ่ม ผู้วิจัยจึงสรุปว่าสารสกัดบัวบกช่วยให้แผลใน
เร็วขึ้นในผู้ป่วยเบาหวาน** ผู้ป่วยเบาหวานหายเร็วขึ้นและเกิดแผลเป็นชนิด
วีรยะ เภาเจริญ นูนลดลง โดยไม่พบผลข้างเคียงหรืออาการที่ไม่
ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย พึงประสงค์
ธรรมศาสตร์
Journal of the Medical Association of Thailand. 2553,
93 Suppl 7: S166-170. ประสิทธิผลของสารสกัดเถาวัลย์
เปรียงในการรักษาผู้ป่วยข้อเข่า
บัวบกเป็นพืชสมุนไพรที่นำมาใช้เป็น
เครื่องดื่ม อาหาร และใช้ในการรักษาโรคต่างๆ เสื่อม***
ตามการแพทย์แผนไทยมาเป็นเวลานาน โดยมี วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล , ธีระวุธ ปิ่นทอง , มาลี บรรจบ , สุนี ธน
2
1
2
3
3
สารสำคัญตัวหนึ่งที่ออกฤทธิ์ คือ เอเซียทิโคไซด์ กำธร , พรสิริ ชินสว่างวัฒนกุล , วิษณุ ธรรมลิขิตกุล 4
และได้บรรจุอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ซึ่งพบมี 1 ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ฤทธิ์สมานแผล ลดการอักเสบ ผู้วิจัยจึงทำการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ศึกษาประสิทธิผลและอาการข้างเคียงของสาร 2 สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง
สาธารณสุข
สกัดบัวบกในการรักษาแผลในผู้ป่วยเบาหวาน 3 สำนักงานวิจัยและพัฒนา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
โดยเป็นการศึกษาควบคุมแบบสุ่ม ในผู้ป่วยเบา มหาวิทยาลัยมหิดล
4 ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล
**Paocharoen V. (2010) The efficacy and side effects Journal of Alternative and Complementary
of oral Centella asiatica extract for wound healing Medicine. 2554, 17(2):147-153.
promotion in diabetic wound patients. Journal of the
Medical Association of Thailand. 93 Suppl 7: S166-170.