Page 75 - ภาพนิ่ง 1
P. 75

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                       ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555         Vol. 10 No. 1 January-April 2012








          วารสารสโมสร





          ธงชัย สุขเศวต**






            การจัดทำคอลัมน์วารสารสโมรสรการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอ
            เอกสารสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้องของนักวิชาการไทย แล้วรวบรวมไปจัดพิมพ์เป็นเล่มสารสนเทศของข่ายงาน
            ซึ่งหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการค้นเอกสารอ้างอิง และในการวางแผนวิจัยไม่ซ้ำซ้อน.




          เจลแคปไซซินจากพริกช่วยบรรเทา ชาติ โดยสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ คือ สารแคปไซซิน
          อาการข้อเข่าเสื่อม*                        (capsaicin) แต่ขนาดที่ใช้ 0.075% and 0.05%
                                                     ของแคปไซซินมีผลข้างเคียงสำคัญ  คือ  เกิด
          วีระชัย โควสุวรรณ, วินัย ศิริชาติวาปี, ทวีโชค วิษณุโยธิน, พล
          ศักดิ์ จิระวิพูลวรรณ, วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม   อาการผิวหนังแดง ปวด และแสบร้อน ผู้วิจัยจึง
          ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย  ทำการวิจัยหาประสิทธิผลของเจลแคปไซซิน
          ขอนแก่น                                    ขนาด 0.125% ในผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมที่
          Journal of the Medical Association of Thailand, 2553,
          93(10): 1188-1195.                         แสดงอาการ โดยทำการศึกษาคุมแบบสุ่มเปรียบ
                                                     เทียบ ปกปิด 2 ทาง และไขว้กลุ่มในผู้ป่วย 100
               พริกเป็นเครื่องปรุงรสมีรสชาติเผ็ดร้อน  คน ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมน้อยถึงปานกลาง แบ่ง

          เป็นที่นิยมในประเทศไทย และมีการใช้ในทางการ  ผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทาเจลแคปไซซิน กับ
          แพทย์แผนไทยมานาน ซึ่งการใช้เป็นยาทาเฉพาะ   กลุ่มทาเจลไม่มีตัวยา โดยให้ทาเจลแคปไซซินบริ

          ที่ พบว่ามีฤทธิ์ช่วยในการลดอาการปวดข้อ ปวด  เวณข้อเข่าที่เสื่อมวันละ  3  ครั้ง  เป็นเวลา  4
          กล้ามเนื้อ และได้บรรจุอยู่ในบัญชียาหลักแห่ง  สัปดาห์ จากนั้นเว้น 1 สัปดาห์แล้วไขว้กลุ่มทา
                                                     เจลแคปไซซินและเจลไม่มีตัวยาบริเวณข้อเข่าที่
          * Kosuwon W., Sirichatiwapee W., Wisanuyotin T.,
          Jeeravipoolvarn  P.,  Laupattarakasem  W.  (2010)   เสื่อมวันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลการ
          Efficacy of symptomatic control of knee osteoarthritis
          with 0.0125% of capsaicin versus placebo. Journal of   ศึกษาพบว่า ผู้ป่วยที่ทาเจลแคปไซซินมีความ
          the Medical Association of Thailand. 93(10): 1188-
          1195.                                      รุนแรงของอาการข้อเข่าเสื่อมลดลง อาการปวด
          **คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย     ข้อยึด และการเคลื่อนไหวของข้อดีขึ้น เมื่อเทียบ
                                                  69
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80