Page 4 - จุลสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือน กันยายน 2563
P. 4
กฤษณะ คตสุข, พท.ป.อิศรำ พงษ์พำนิชย์
เข้ำสู่เดือนกันยำยน ซึ่งเป็นเดือนที่มีกำรจัด งานมหกรรม วัยรุ่น : เป็นวัยที่มีกิจกรรมมำกมำย อำจ
สมุนไพรแห่งชาติ โดยในปีนี้เป็นกำรจัดงำนครั้งที่ 17 ภำยใต้ธีมงำน เกิดอำกำรปวดเมื่อยเนื่องจำกกำรใช้
นวดไทย สมุนไพรไทย สร้างสุขทุกวัย จุลสำรฉบับนี้จึงขอน�ำเสนอ กล้ำมเนื้อมำกจนเกิดกล้ำมเนื้อเกร็ง ติดขัด
กำรดูแลสุขภำพด้วยภูมิปัญญำกำรนวดตำมกลุ่มวัย ดังนี้ ดังนั้นจึงเป็นกำรนวดเพื่อคลำยกล้ำมเนื้อ
กระตุ้นภูมิคุ้มกันและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ กำรนวดแบบผสมผสำน
หญิงตั้งครรภ์ : มีกำรกล่ำวถึงกำรใช้ ร่วมกับกำรบริหำรร่ำงกำยตนเองจะช่วยท�ำให้กล้ำมเนื้อ เส้นเอ็นยืด
ภูมิปัญญำกำรนวดของหมอต�ำแยในกำรนวด ตัว ข้อต่อให้อยู่ในต�ำแหน่งที่ถูกต้อง และมีกำรเคลื่อนไหวดีขึ้น
กล่อมท้อง ซึ่งเป็นกำรนวดที่ช่วยจัดต�ำแหน่ง
ท่ำทำงของทำรกในครรภ์ไม่ให้กดทับกระเพำะ วัยท�างาน : เป็นวัยที่ต้องใช้แรงงำน อำจพบ
ปัสสำวะ ลดกำรกดทับของศีรษะเด็กที่มีต่อ อำกำรเกี่ยวกับระบบกล้ำมเนื้ออันเนื่องมำจำก
อุ้งเชิงกรำนในช่วงอำยุครรภ์เกิน 7 เดือนขึ้นไป กำรขยับต�ำแหน่งของ วีถีกำรด�ำเนินชีวิต กิจวัตรประจ�ำวันและ
ทำรกเป็นกำรช่วยลดกำรดึงรั้งหน้ำท้องของหญิงตั้งครรภ์ซึ่งมีผลต่อ กำรประกอบอำชีพ วิธีกำรนวดจะเป็น
กำรรับน�้ำหนักของแผ่นหลัง ซึ่งสำมำรถช่วยลดอำกำรปวดหลังของ กำรนวดเพื่อผ่อนคลำย ซึ่งเป็นกำรผ่อนคลำยและลดกำรเกร็งตัวของ
หญิงตั้งครรภ์ และช่วยให้ทำรกคลอดได้ง่ำยขึ้น กล้ำมเนื้อ ท�ำให้รู้สึกสบำย คลำยควำมเครียด ควำมกังวลและ
ควำมเหนื่อยล้ำจำกกำรท�ำงำน
วัยเด็ก : มีกำรนวดกระตุ้นพัฒนำกำรเด็ก
โดยเป็นกำรนวดในเด็กอำยุตั้งแต่แรกเกิดถึง วัยสูงอายุ : เป็นวัยที่มีกำรเปลี่ยนแปลง
3 ปี ซึ่งช่วงอำยุนี้กำรนวดสำมำรถกระตุ้น ทั้งด้ำนร่ำงกำยและจิตใจ จึงควรดูแลสุขภำพ
พัฒนำกำรได้ดีที่สุด เพื่อให้เด็กมีร่ำงกำย เป็นพิเศษ เนื่องจำกอวัยวะทุกส่วนในร่ำงกำย
แข็งแรงสมบูรณ์ มีสติปัญญำที่เป็นปกติ และมีพัฒนำกำรทำง เริ่มเสื่อมลง จึงเป็นกำรนวดเพื่อฟื้นฟูและ
ด้ำนร่ำงกำย สมอง และจิตใจเป็นไปตำมวัย กระตุ้นระบบต่ำง ๆ ของร่ำงกำยให้ท�ำงำนได้อย่ำงปกติ
การนวดไทยและนวดพื้นบ้านไทย เป็นการใช้ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่า นับเป็นศาสตร์และศิลปะ ตลอดจนประสบการณ์จากการสั่งสม สืบทอด
ของหมอผู้นวด “การนวดอย่างถูกหลัก ถูกวิธี ถูกกับกลุ่มโรคหรืออาการ และเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละช่วงวัยมีความส�าคัญมาก และควร
อยู่ในการดูแลของผู้ประกอบวิชาชีพที่รู้จริงเท่านั้น”
เอกสารอ้างอิง
1. ดำรณี อ่อนชมจันทร์ และเสำวณีย์ กุลสมบูรณ์. (2552). การนวดพื้นบ้านไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: กองกำรแพทย์พื้นบ้ำนไทย กรมพัฒนำกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์
ทำงเลือก กระทรวงสำธำรณสุข.
2. ธนิดำ ขุนบุญจันทร์ กฤษณะ คตสุข และคณะ. (2558). คู่มือการนวดแบบพื้นบ้านภาคกลางในท่าพื้นฐานส�าหรับประชาชน. ส�ำนักกำรแพทย์พื้นบ้ำนไทย กรมพัฒนำกำรแพทย์แผนไทย
และกำรแพทย์ทำงเลือกกระทรวงสำธำรณสุข.
3. ประพจน์ เภตรำกำศ รัชนี จันทร์เกษ สุดำรัตน์ สุวรรณพงศ์และคณะ (2552). คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ:อุษำกำรพิมพ์. สถำบันวิจัย
ระบบสำธำรณสุข สถำบันสุขภำพวิถีไทย ศูนย์ข้อมูลเชิงยุทธศำสตร์ กรมพัฒนำกำรกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก มูลนิธิสำธำรณสุขกับกำรพัฒนำสมำคมวิชำชีพ
กำรนวดไทย
4. สถำบันกำรแพทย์แผนไทย. (2557). การนวดกระตุ้นพัฒนาการเด็ก. กรุงเทพฯ:ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย. สถำบันกำรแพทย์แผนไทย กรมพัฒนำกำรแพทย์แผนไทย
และกำรแพทย์ทำงเลือก กระทรวงสำธำรณสุข.