Page 51 - J Trad Med 21-1-2566
P. 51

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  31




            เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย                  เอสเทอเรส ด้วยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเทอเรส ซึ่ง
                 แบบสอบถาม (questionnaires)             เป็นการตรวจเชิงคุณภาพที่มีความถูกต้องและเที่ยง

                 จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารต่าง ๆ จาก  ตรงในระดับของการตรวจเพื่อคัดกรอง (screening
            งานวิจัย แบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ      test) อุปกรณ์หลักที่จ�าเป็นต้องมี ได้แก่ กระดาษ
                 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 4 ข้อ ที่เป็นแบบเลือกตอบ   ทดสอบโคลีนเอสเทอเรสและแผ่นเทียบสีมาตรฐาน

            ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ ระยะเวลาในการใช้สารเคมี  แผ่นกระจก (slide) เข็มเจาะเลือด (lancet) หลอด
            ก�าจัดศัตรูพืช                              ฮีมาโตคริตชนิดที่เคลือบสารกันเลือดแข็ง (หลอดที่มี
                 ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีก�าจัด  แถบสีแดง) (hematocrit capillary tube) ส�าลีที่ผ่าน

            ศัตรูพืช จ�านวน 5 ข้อ ได้แก่ 1) สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช   การฆ่าเชื้อแล้ว แอลกอฮอล์ 70% ปากคีบ (forceps)
            เข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง คือ จมูก ปาก ผิวหนัง 2) การใช้  ดินน�้ามัน และอุปกรณ์เสริมเพื่อความสะดวกในการ
            สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช ควรอ่านฉลากก่อนซื้อและก่อน  ทดสอบ เช่น ตะแกรงส�าหรับวางหลอดเลือด (rack)

            ใช้งาน 3) การสูบบุหรี่และการกินอาหารในขณะท�าการ  อุปกรณ์ในการเป่า/ดันน�้าเหลืองออกจากหลอด
            ฉีดพ่นสารก�าจัดศัตรูพืช มี 3 ค�าตอบ  คือ ใช่ ไม่ใช่ ไม่  ฮีมาโตคริต เครื่องปั่นฮีมาโตคริต นาฬิกาจับเวลา

            แน่ใจ                                       ถุงมือยาง ภาชนะส�าหรับทิ้งเข็ม และถุงแดงส�าหรับใส่
                 ส่วนที่ 3 แบบประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพใน  ขยะติดเชื้อ รวมถึงเอกสารการบันทึกประวัติ ชื่อ-สกุล
            การท�างานเบื้องต้น มี 10 ข้อ ได้แก่ ข้อ 1-9 มี 3 ค�า  ผู้รับการตรวจ ชื่อ สกุล ผู้ท�าการตรวจและ ผลการ

            ตอบ  คือ ไม่ใช่ ใช่เป็นบางครั้ง ใช่ทุกครั้ง และข้อที่   ตรวจ
            10 ค�าถามเป็นแบบเลือกได้หลายค�าตอบ (ใช่หรือไม)      การเก็บรวบรวมข้อมูล

            (multiple choice question) มีและไม่มีอาการ แบ่ง     การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
            ตามกลุ่มอาการ 3 กลุ่ม ได้แก่                ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม มีวิธี
                 กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ไอ ตาแดง/คัน/แสบ แสบจมูก   การด�าเนินการดังนี้

            อ่อนเพลีย เจ็บคอ อาการชา หายใจติดขัด ใจสั่น เวียน       (1) ผู้ศึกษาขอความร่วมมือในการกรอก
            ศีรษะ เหงื่อออก ปวดศีรษะ น�้าตาไหล นอนหลับไม่  แบบสอบถาม
            สนิท น�้าลายไหล คันผิวหนัง น�้ามูกไหล ผื่นคัน/ตุ่ม       (2) ท�าการรวบรวมแบบสอบถาม ตรวจ

            พุพอง และปวดแสบร้อน                         ความเรียบร้อยของแบบสอบถามและน�าไปวิเคราะห์
                 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ หนังตากระตุก ท้องเสีย ตาพร่า  เพื่อหาค่าสถิติในโปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิต
            มัว ตะคริว เจ็บหน้าอก มือสั่น คลื่นไส้/ อาเจียน เดิน     การวิเคราะห์ข้อมูล

            โซเซ ปวดท้อง กล้ามเนื้ออ่อนล้า และท้องเสีย       1.  วิเคราะห์สถิติพื้นฐาน (descriptive sta-
                 กลุ่มที่ 3 ได้แก่ ลมชัก และหมดสติ      tistic) เพื่อให้ทราบลักษณะข้อมูล ระดับความรู้เกี่ยว

                 ชุดทดสอบโคลีเอสเทอเรส                  กับการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช และระดับความเสี่ยง
                 เป็นชุดตรวจวัดเพื่อตรวจหาระดับเอนไซม์โคลีน  ต่อสุขภาพในการท�างานเบื้องต้นโดยใช้สถิติพื้นฐาน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56