Page 175 - J Trad Med 21-1-2566
P. 175
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 155
ภาพที่ 1 ลักษณะงานในสถานที่ทำางานหลักของแพทย์แผนจีน (n = 362)
หมายเหตุ: สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
3. สถ�นก�รณ์ก�รจ้�งง�นและคว�มต้องก�ร เพียงร้อยละ 1.7 (ตารางที่ 3)
แพทย์แผนจีนในระบบส�ธ�รณสุขไทย เมื่อพิจารณาต�าแหน่งหรือสายงานในการจ้างงาน
ผลการศึกษาสถานการณ์บุคลากรด้านการ แพทย์แผนจีน พบว่า มีการจ้างงานในต�าแหน่งแพทย์
แพทย์แผนจีนในระบบสาธารณสุขทั้งภาครัฐและ แผนจีนมากที่สุด ร้อยละ 63.3 รองลงมาคือต�าแหน่ง
เอกชน พบว่า บุคลากรแพทย์แผนจีนจ�านวนทั้งสิ้น นักวิชาการสาธารณสุข (แพทย์แผนจีน) ร้อยละ 19.3
362 คน มีลักษณะการจ้างงานเป็นลูกจ้างชั่วคราวมาก และต�าแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข ร้อยละ 14.4 ตาม
ที่สุด ร้อยละ 34.5 รองลงมาคือข้าราชการ (ข้าราชการ ล�าดับ หากพิจารณาแยกตามประเภทหน่วยงาน พบว่า
พลเรือน, ข้าราชการกรุงเทพมหานคร) ร้อยละ 20.5 มีเพียงหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น
หรือเพียงหนึ่งในห้าของกลุ่มตัวอย่าง น้อยที่สุด คือ ที่มีการจ้างงานแพทย์แผนจีนในต�าแหน่งนักวิชาการ
พนักงานราชการร้อยละ 3.0 หากพิจารณาการจ้างงาน สาธารณสุข หรือนักวิชาการสาธารณสุข (แพทย์แผน
แพทย์แผนจีนในภาพรวมแยกเป็นรายเขตสุขภาพ จีน) นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ามีการจ้างงาน
จะเห็นได้ว่ามากกว่าหนึ่งในสี่หรือร้อยละ 26.8 ของ แพทย์แผนจีนในต�าแหน่งงานที่ต�่ากว่าปริญญาตรีด้วย
บุคลากรแพทย์แผนจีนปฏิบัติงานในเขตสุขภาพที่ 13 คือต�าแหน่งผู้ช่วยนักวิชาการสาธารณสุข ในบุคลากร
หรือกรุงเทพมหานครสูงที่สุด และต�่าสุดในเขตสุขภาพ แพทย์แผนจีนที่ปฏิบัติงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร
ที่ 10 (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ มุกดาหาร อ�านาจเจริญ) (ตารางที่ 4)