Page 172 - J Trad Med 21-1-2566
P. 172

152 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




                                                       สายงานหรือต�าแหน่งงาน
                       ระเบียบวิธีศึกษ�
                                                           ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง
           วัสดุ                                       (purposive sampling) จากแพทย์แผนจีนที่ปฏิบัติ

                การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้  งานในสถานพยาบาลประเภทต่าง ๆ ระหว่างเดือน
           สถิติเชิงพรรณนา เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลปฐม  กุมภาพันธ์–เมษายน พ.ศ. 2565 และรับใบอนุญาตเป็น

           ภูมิ จาก (1) ข้อมูลการปฏิบัติงานของแพทย์แผนจีน  ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนจีนจากคณะ
           ที่ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขา  กรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนจีน ก่อนวันที่ 31
           แพทย์แผนจีน (2) ข้อมูลผู้จบการศึกษาการแพทย์  มีนาคม พ.ศ. 2565  ค�านวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร

           แผนจีนทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศช่วง 4 ปี   Taro Yamane, 1973  ได้ขนาดตัวอย่างจ�านวน 329
                                                                       [8]
           (ปีการศึกษา 2560–2563) และเก็บข้อมูลทุติยภูมิ  คน เพื่อป้องกันความไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล
           จาก (3) ระบบข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพระดับ  ผู้วิจัยจึงเพิ่มขนาดประชากรอีกร้อยละ 10.0 ได้กลุ่ม

           จังหวัด (Health Data Center: HDC) ของกระทรวง  ตัวอย่างทั้งหมดที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ 362 คน
           สาธารณสุข ด้านการวินิจฉัยโรคทางการแพทย์แผนจีน      (2) แบบรายงานจ�านวนนักศึกษาผู้จบการศึกษา

           5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2564)  ประชากรที่  แพทย์แผนจีน 4 ปีย้อนหลัง (ปีการศึกษา 2560-2563)
                                        [6]
           ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แพทย์แผนจีนที่ได้ขึ้นทะเบียน  โดยผู้วิจัยได้ด�าเนินการเก็บข้อมูลจากสถาบันการ
           และรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการ  ศึกษาในประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรด้านการ

           แพทย์แผนจีนจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการ      แพทย์แผนจีนในระดับปริญญาตรี และคณะกรรมการ
           แพทย์แผนจีน ณ เดือนมีนาคม 2565 จ�านวน 1,826   วิชาชีพสาขาการแพทย์แผนจีนได้ให้การรับรองแล้ว

           คน                                          รวมจ�านวนทั้งสิ้น 9 แห่ง  ได้แก่ 1) มหาวิทยาลัย
                                                                           [7]
              [7]
                                                       หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2) มหาวิทยาลัยราชภัฏ
           วิธีก�รศึกษ�                                จันทรเกษม 3) วิทยาลัยนครราชสีมา 4) มหาวิทยาลัย

                เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย   แม่ฟ้าหลวง 5) วิทยาลัยเชียงราย 6) มหาวิทยาลัย
                (1) แบบส�ารวจออนไลน์ข้อมูลปฏิบัติงานของ  พะเยา 7) มหาวิทยาลัยรังสิต 8) มหาวิทยาลัย
           แพทย์แผนจีนที่ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรค  ธรรมศาสตร์ และ 9) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

           ศิลปะ สาขาแพทย์แผนจีน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบ  ส�าหรับการเก็บข้อมูลผู้จบการศึกษาจากสถาบันการ
           ด้วย 3 ส่วน ดังนี้                          ศึกษาต่างประเทศ ผู้วิจัยด�าเนินการเก็บข้อมูลจาก
                ส่วนที่ 1  ข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่   ผู้ที่สมัครสอบขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ

           สถานภาพทางเพศ อายุ ประวัติการศึกษา และการ   สาขาการแพทย์แผนจีน ของส�านักสถานพยาบาลและ
           ศึกษาต่อ                                    การประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

                ส่วนที่ 2  ข้อมูลสถานพยาบาลที่ปฏิบัติงาน และ  โดยด�าเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม–
           ลักษณะงานในสถานที่ท�างานหลัก                กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
                ส่วนที่ 3  ประเภท/ลักษณะการจ้างงาน และ     วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177