Page 52 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 52

250 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           การเผยแพร่ ไม่ลดระดับ แม้ไม่สามารถใช้กราฟกรวย  หรือแผ่นไม้ [10,15,17]  ผลต่างค่าเฉลี่ยมาตรฐานเท่ากับ
           คว�่า (funnel plot) ประเมินได้เนื่องจากจ�านวนรายงาน  -0.97 95% CI: -1.30 ถึง -0.64) แสดงให้เห็นว่า การใช้

                              [12]
           วิจัยที่คัดเข้ามา 5 เรื่อง  แต่เมื่อพิจารณาผลการ  อุปกรณ์นวดเท้าเป็นเวลานานสามารถช่วยกระตุ้นการ
                                                                                        [8-9]
           ประเมินความเสี่ยงต่อการอคติจากการเลือกรายงาน   ไหลเวียนของเลือดและเพิ่มการรับรู้ความรู้สึก  กลุ่ม
           ทั้ง 5 เรื่อง ผลการประเมินอยู่ในระดับต�่าทั้งนี้เพราะ  ทดลองจึงมีจ�านวนจุดชาเท้าน้อยกว่ากลุ่มควบคุม

                                                                                        2
           ผลลัพธ์ของแต่ละรายงานวิจัยถูกรายงานครบถ้วน      แม้ว่าผลลัพธ์ไม่มีความต่าง นั่นคือ I  เท่ากับ
           ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่แต่ละรายงานวิจัย  ร้อยละ 0.0 p-value เท่ากับ 0.48 แต่อย่างไรก็ตาม
           ระบุไว้ จึงสรุปได้ว่า ความแน่นอนของหลักฐานอยู่ใน  เมื่อน�ารายงานวิจัยที่ไม่ได้ตีพิมพ์ในวารสารออกซึ่ง

                                                              [6]
           ระดับต�่ามาก                                มี 1 เรื่อง  ผลการศึกษายังคงไม่แตกต่างจากก่อน
                                                       น�ารายงานวิจัยดังกล่าวออก นั่นคือ ผลต่างค่าเฉลี่ย
                         อภิปร�ยผล                     มาตรฐานเท่ากับ -1.07 (95% CI: -1.35 ถึง -0.79)


                จ�านวนรายงานวิจัยที่คัดเข้ามาในการศึกษา   เมื่อเทียบกับที่ยังไม่น�ารายงานวิจัยที่ไม่ได้ตีพิมพ์
           6 เรื่อง เป็นรายงานวิจัยที่มีผลลัพธ์ คือ การรับรู้  ในวารสารออก ผลต่างของค่าเฉลี่ยมาตรฐานเท่ากับ

           ความรู้สึกที่เท้า 1 เรื่อง  และ จ�านวนจุดชาเท้า 5    -1.14  (95% CI: -1.40 ถึง -0.88) จึงสรุปได้ว่า ผลการ
                              [14]
           เรื่อง [6,10,15-17]  ไม่ปรากฏรายงานวิจัยกรณีผลลัพธ์แบบ  ศึกษาที่มาจากรายงานวิจัยซึ่งไม่ได้ตีพิมพ์ในวารสาร 1
           ทวิภาค  นั่นคือ การมีอาการชาเท้า (มี/ไม่มี หรือ ชา/  เรื่องนั้น ไม่ส่งผลต่อผลการศึกษาโดยรวมทั้งหมด

           ไม่ชา) กรณีจ�านวนจุดการรับรู้ความรู้สึกที่เท้า สรุป     เมื่อเปรียบเทียบผลการทบทวนอย่างเป็นระบบ
           ได้ว่า การนวดเท้าด้วยกะลามะพร้าวช่วยเพิ่มจ�านวน  นี้กับการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบของ

           จุดการรับรู้ความรู้สึกที่เท้าแต่เพิ่มไม่มาก (ผลต่าง  ดวงใจ พรหมพยัคฆ์ และคณะ  พบผลการศึกษา
                                                                               [11]
           ค่าเฉลี่ย 1.00 จุด 95% CI: 0.31 ถึง 1.69 จุด) ทั้งนี้  ที่เหมือนกัน นั่นคือ อาการชาเท้าของกลุ่มทดลองที่
           เพราะการทดลองดังกล่าวให้ผู้เข้าร่วมวิจัยนวดเท้า  นวดเท้าด้วยอุปกรณ์ดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัย

           เพียง 1 ครั้ง และท�าการประเมินจ�านวนจุดชาเท้าทันที  ส�าคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) แต่ในส่วนของค่า
           จึงท�าให้จ�านวนจุดการรับรู้ความรู้สึกที่เท้ากลุ่มทดลอง  ประมาณผลนั่นคือ ผลต่างค่าเฉลี่ยหรือผลต่างค่า
           กับกลุ่มควบคุมมีความต่างกันไม่มาก  กรณีผลลัพธ์   เฉลี่ยมาตรฐานจ�านวนจุดอาการชาหรือจ�านวนจุด

           คือ จ�านวนจุดอาการชาเท้า สรุปได้ว่า การนวดด้วย  การรับรู้ความรู้สึกที่เท้าไม่สามารถน�ามาเปรียบเทียบ
           อุปกรณ์ช่วยลดจ�านวนจุดอาการชาเท้าอย่างมาก [18]   กันได้เพราะการศึกษาของดวงใจ พรหมพยัคฆ์ และ
           (ผลต่างของค่าเฉลี่ยมาตรฐาน -1.14  95% CI: -1.40   คณะ  ไม่มีการรายงานค่าดังกล่าว
                                                           [11]
           ถึง -0.88) เมื่อพิจารณาตามประเภทของอุปกรณ์ ไม่     ผลการประเมินความแน่นอนของหลักฐาน
           ว่าจะเป็นอุปกรณ์ประเภทใดก็ตามที่ใช้นวดเท้า กลุ่ม  กรณีผลลัพธ์ คือ จ�านวนจุดรับรู้ความรู้สึกที่เท้าผล

           ทดลองมีจ�านวนจุดชาเท้าน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่าง  การประเมินอยู่ในระดับต�่าเนื่องจากถูกลดระดับจาก
           มาก  (กะลามะพร้าว  ผลต่างค่าเฉลี่ยมาตรฐาน   ความเสี่ยงต่อการเกิดอคติที่ไม่ชัดเจนและการไม่พบ
              [18]
                            [6,16]
           เท่ากับ -1.41 95% CI: -1.83 ถึง -0.99 และ รางไม้  หลักฐานโดยตรง กรณีผลลัพธ์ คือ จ�านวนจุดอาการ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57