Page 90 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 90
70 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
มาตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล และน�าไป ส�าคัญแก่กลุ่มตัวอย่าง มีสิทธิที่จะถอนตัวออกจาก
วิเคราะห์ข้อมูล โครงการได้
- เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
ผู้ป่วยที่มาแจ้งการมีไว้ในครอบครองฯ จ�านวน 10 ผลกำรศึกษำ
คน ประชาชน 10 คน และพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ จ�านวน 10 คน โดย 1. สถำนกำรณ์กำรครอบครองกัญชำเพื่อ
การสัมภาษณ์ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ประโยชน์ทำงกำรแพทย์ ในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี
2563 จากนั้นท�าการถอดความบทสนทนาจากการ จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีผู้ป่วยที่แจ้งการมีไว้ใน
สัมภาษณ์เป็นลายลักษณ์อักษรแบบค�าต่อค�า (tran- ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะ
scription of data) ซึ่งกระท�าโดยผู้ศึกษาเท่านั้น กัญชา เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัวของผู้ป่วย ณ ส�านักงาน
ข้อมูลที่ได้ถูกตรวจสอบความถูกต้องโดยการตรวจ สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี จ�านวนทั้งสิ้น 767
สอบสามเส้า (triangulation) โดยผู้ศึกษาร่วมกับ คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จ�านวน 625 คน (ร้อยละ
ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมินและตรวจสอบข้อมูลที่ได้ 81.49) เพศหญิง จ�านวน 142 คน (ร้อยละ 18.51)
จากการสัมภาษณ์ ส่วนการจับใจความส�าคัญและการ มีอายุเฉลี่ย 44.13 ± 13.94 ปี โดยอายุน้อยที่สุดคือ 4
ตีความ รวมทั้งการจัดกลุ่มข้อมูล การเชื่อมโยงข้อมูล ปี และอายุมากที่สุดคือ 92 ปี เกือบทั้งหมดมีสัญชาติ
และการสร้างข้อสรุปจากข้อมูลที่ผ่านกระบวนการ ไทยคิดเป็นร้อยละ 98.83 และเมื่อแบ่งที่อยู่อาศัยตาม
ตีความ กระท�าโดยผู้ศึกษา ทะเบียนบ้านของผู้ป่วยที่มาแจ้งการครอบครองกัญชา
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ พบว่าผู้ป่วยอาศัยอยู่ในโซนตะวันออกของจังหวัด
- วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ จากแบบ สุราษฎร์ธานีมากที่สุด (อ�าเภอกาญจนดิษฐ์ เกาะสมุย
บันทึกแจ้งการมีไว้ในครอบครองฯ วิเคราะห์ด้วยสถิติ เกาะพะงัน และดอนสัก) จ�านวน 209 คน (ร้อยละ
เชิงพรรณนา ได้แก่ จ�านวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน 27.25) รองลงมา ได้แก่ โซนกลาง (อ�าเภอเมืองฯ) และ
เบี่ยงเบนมาตรฐาน โซนเหนือ (อ�าเภอท่าชนะ ท่าฉาง ไชยา พุนพิน) จ�านวน
- วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์ 195 คน (ร้อยละ 25.42) และ 174 คน (ร้อยละ 22.69)
เนื้อหา จัดกลุ่มข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ในประเด็นการรับรู้ ตามล�าดับ (ตารางที่ 1)
และความคาดหวังของผู้ป่วย ประชาชน และพนักงาน รูปแบบของกัญชาที่ผู้ป่วยแจ้งการมีไว้ในครอบ
เจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ครองเพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ซึ่งผู้ป่วยสามารถระบุได้
2.3 การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง มากกว่า 1 รูปแบบ จากผู้ป่วยที่มาแจ้งครอบครองฯ
การศึกษานี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ จ�านวนทั้งสิ้น 767 คน พบว่าผู้ป่วยจ�านวนมากกว่า
จริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ ส�านักงาน ครึ่งหนึ่งใช้น�้ามันกัญชาในการรักษาโรค คือ 459 คน
สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี กระทรวงสาธารณสุข (ร้อยละ 59.84) รองลงมาคือ ใช้ต้นกัญชา และกัญชา
เลขที่ STPHO2020-008 ให้ไว้ ณ วันที่ 30 กรกฎาคม แห้งทั้งต้น จ�านวน 438 คน (ร้อยละ 57.11) และ 236
2563 โดยมีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและข้อมูล คน (ร้อยละ 32.72) ตามล�าดับ (ตารางที่ 2)