Page 130 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 130
676 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
ภาพที่ 1 ภาพเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของนิ้วล็อกจากปกติ (ค่า = 1) ไปยังรุนแรงมาก (ค่า = 6) ก่อนการนวด
้
ไทยในการรักษาโรคนิ้วล็อก ร่วมกับการใช้นำามันชันไพ ครั้งที่ 1 (SST Before) และครั้งที่ 4 ภายหลังการ
นวด (SST After)
ตารางที่ 2 ตารางเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของนิ้วล็อกจากปกติ (ค่า = 1) ไปยังรุนแรงมาก (ค่า = 6) ก่อนและ
้
หลังการนวดไทยในการรักษาโรคนิ้วล็อก ร่วมกับการใช้นำามันชันไพ 30 นาที/ครั้ง/สัปดาห์ เป็นจำานวน 4
ครั้ง (SST Before No.1 - 4, SST After No.1 - 4)
จำานวน SST Before SST After SST Before SST After SST Before SST After SST Before SST After
(คน)/ No.1 No.1 No.2 No.2 No.3 No.3 No.4 No.4
ความรุนแรง
1 0 8 1 9 1 18 8 23
2 29 34 31 39 40 36 39 35
3 21 11 19 7 13 4 10 1
4 9 6 8 5 5 2 3 1
5 1 1 1 0 1 0 0 0
การรักษาครั้งที่ 1 และ 4 ก่อนและหลังการนวดไทยใน มีระดับความเจ็บปวดลดลง 3 ระดับ (ภาพที่ 2 และ
้
การรักษาโรคนิ้วล็อก ด้วยนำามันชันไพ มีระดับความ ตารางที่ 3)
เจ็บปวดของโรคนิ้วล็อกลดลง 55 คน (ร้อยละ 91.67)
โดยลดลง 8 ระดับ 2 คน (ร้อยละ 3.33) ลดลง 6 ระดับ อภิปร�ยผล
้
3 คน (ร้อยละ 5) ลดลง 5 ระดับ 2 คน (ร้อยละ 3.33) การศึกษาความปลอดภัยและผลของนำามันชัน
ลดลง 4 ระดับ 15 คน (ร้อยละ 25) ลดลง 3 ระดับ 13 ไพร่วมกับการนวดไทยแบบราชสำานักในการรักษา
คน (ร้อยละ 21.67) ลดลง 2 ระดับ 17 คน (ร้อยละ โรคนิ้วล็อก ผลการรักษาใช้แบบประเมินความรุนแรง
28.33) ลดลง 1 ระดับ 3 คน (ร้อยละ 5) และมีระดับ ตาม Stages of Stenosing Tenosynovitis (SST) [1]
ความเจ็บปวดเท่าเดิม 5 คน (ร้อยละ 8.33) โดยเฉลี่ย 6 ระดับ และการประเมินความเจ็บปวดตาม Numerical