Page 282 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 282

512 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           สมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรคประกอบด้วย การ  กลาง 3.50-4.49 มาก และ 4.50-5.00 มากที่สุด [13-14]
                                                                                          [15]
           บรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ การบรรเทาอาการ  แบบสอบถามทั้งชุดมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.89
           ไข้ การรักษาโรคผิวหนัง การบำารุงกำาลังร่างกาย และ     ส่วนที่ 3 ข้อคำาถามในการสัมภาษณ์แบบไม่เป็น
           การขับพยาธิ เก็บข้อมูลเดือนตุลาคม 2562-กันยายน   ทางการ ครอบคลุมรูปแบบการใช้ประโยชน์และข้อ
           2563 รวมเวลา 11 เดือน                       เสนอแนะการใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการ

                                                       รักษาโรคของประชาชนจากปราชญ์ท้องถิ่นในชุมชน
           1. วัสดุ                                    จำานวน 1 ท่าน หมอพื้นบ้าน จำานวน 1 ท่าน อาสาสมัคร

                1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง            ประจำาหมู่บ้าน จำานวน 2 ท่าน ประชาชนทั่วไป จำานวน

                ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษา  1 ท่าน
           ครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนในพื้นที่ชุมชนสะลวง-ขี้เหล็ก
           อำาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำานวนประชากร 4,477   2. วิธีก�รศึกษ�

           ครัวเรือน โดยผู้ศึกษาได้คำานวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง     2.1 การวิเคราะห์ข้อมูล
           โดยใช้สูตรคำานวณขนาดตัวอย่าง  ขนาดกลุ่ม         การตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล
                                       [12]
           ตัวอย่างจำานวน 301 ครัวเรือน ส่วนการสัมภาษณ์แบบ  ในแบบสอบถาม บันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
           ไม่เป็นทางการทำาการสัมภาษณ์จากปราชญ์ท้องถิ่น  เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำาเร็จรูป SPSS
           ในชุมชน จำานวน 1 ท่าน หมอพื้นบ้าน จำานวน 1 ท่าน   (Statistical Package for the Social Sciences/

           อาสาสมัครประจำาหมู่บ้าน จำานวน 2 ท่าน ประชาชน  Windows) กำาหนดระดับความมีนัยสำาคัญที่ระดับ
           ทั่วไป จำานวน 1 ท่านซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ มีองค์  0.05 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

           ความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการรักษา     1) ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง
           โรค และการยอมรับของประชาชน                  วิเคราะห์โดยสถิติเชิงพรรณนา (descriptive sta-
                1.2 เครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม   tistics) ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ

                ส่วนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล เป็นแบบ   (percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
           สอบถามชนิดเติมคำา และเลือกคำาตอบซึ่งคณะผู้ศึกษา  (standard deviation) ตัวเลขที่มีค่าน้อยที่สุด (mini-
           ได้ใช้ข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยที่  mum) และตัวเลขที่มีค่ามากที่สุด (maximum)

           เกี่ยวข้องนำามาสร้างแบบสอบถาม                   2) ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของพืช
                ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์   สมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรค วิเคราะห์โดยสถิติ
           ของพืชสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรคของ    เชิงพรรณนา (descriptive statistics) ได้แก่ ค่า

           ประชาชน ข้อคำาถามเป็นแบบปลายปิดและแบบ       เฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard
           สอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale)   deviation)

           ตามแบบของ Likert Scale แบบสอบถามแต่ละข้อ        3) ข้อมูลความสัมพันธ์ของปัจจัยการใช้
           มีคะแนนตั้งแต่ 1-5 คะแนน แปลผลค่าเฉลี่ยตั้งแต่   ประโยชน์ของพืชสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรค
           1.00-1.49 น้อยที่สุด 1.50-2.49 น้อย 2.50-3.49 ปาน  ของประชาชน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286   287