Page 52 - journal-14-proceeding
P. 52

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14



                                      OP60CI0009 นวัตกรรมแผนประคบหินสมุนไพรบรรเทาอาการปวดกลามเนื้อ



               วิทยา วงแกว , ชนาทิพย เที่ยงนา
               โรงพยาบาลโนนสุวรรณ อ.โนนสุวรรณ จ.บุรีรัมย

               หลักการและเหตุผล การประคบรอนดวยลูกประคบสมุนไพรมีสวนชวยบรรเทาอาการปวดกลามเนื้อ แตลูก
               ประคบไมสามารถเก็บความรอนไดนานเพียงพอ (พรรณี ปงสุวรรณ และคณะ, 2552) มีรายงานวาเมื่อรักษา
               ดวยแผนประคบรอนเปนเวลา 20-30 นาที สามารถบรรเทาอาการปวดหลัง เขา และไหลในผูสูงอายุ (Kim MY
               et.al., 2011) เพื่อความสะดวกสําหรับผูรับบริการ คณะผูจัดทําจึงไดคิดพัฒนาแผนประคบหินสมุนไพร


               วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาแผนประคบหินสมุนไพรและเปรียบเทียบผลการลดอาการปวดกับลูกประคบสมุนไพร


               วิธีดําเนินการ ขั้นตอนการพัฒนาแผนประคบหินสมุนไพร 1) ตัดผาขาวดายดิบ ขนาด 50X50 เซนติเมตร
               นํามาเย็บเปนชอง 5 ชอง ชองละ 10 เซนติเมตร ยาว 20 เซนติเมตร 2) ตัดผาดายดิบ ขนาด 10X20
               เซนติเมตร เย็บเปนซองใสสมุนไพร 3)นําสมุนไพรทั้งหมดผสมรวมกัน 4) นําซองผาขาวที่เย็บมาใสหินกรวดมน
               ลักษณะทรงกลมแบนน้ําหนัก100 กรัม สมุนไพร 100 กรัม 5) นําซองสมุนไพรไปบรรจุซองแผนประคบ 6) ปด

               แผนประคบ ทดสอบความรอนโดยการนึ่งดวยอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เวลา 10 นาที วัดระดับความรอน
               ดวย Thermometer  จาก 80 องศาเซลเซียส ลดลงมาที่ 48 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที วิธีการศึกษา 1)
               วิธีการพัฒนาแผนประคบหินสมุนไพร  2) การวิจัยเชิงทดลอง กลุมตัวอยาง เปนผูปวยที่มีอาการปวดทั่ว
               รางกาย ตั้งแตระดับ 3 ถึงระดับ 5 สัญญาณชีพปกติ ไมเปนโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเรื้องรัง

               โรคติดตอรายแรงและโรคแทรกซอนอื่นๆ จํานวน 60 ราย ที่มารับบริการ ในชวงเดือน ตุลาคม –  ธันวาคม
               2559 แบงกลุมตัวอยางเปน กลุมที่ 1 ใหประคบดวยแผนประคบหินสมุนไพร เวลา 30 นาที กลุมที่ 2 ใหทํา
               การประคบดวยลูกประคบสมุนไพร 30 นาที ประเมินความเจ็บปวด (NRS) กอนและหลังทําการทดลอง สถิติที่
               ใช คือ คาเฉลี่ย และ Paired t-test


               ผลการศึกษา พบวา กอนทําการทดลองกลุมที่ใชแผนประคบหินสมุนไพรและกลุมที่ใชลูกประคบสมุนไพรมี
               ระดับความเจ็บปวดเฉลี่ย คือ 4.20 และ 4.36 ตามลําดับ หลังการทดลองมีระดับความปวดเฉลี่ยลดลงเหลือ

               1.40 และ 2.1 ตามลําดับ แผนประคบหินสมุนไพรสามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดไดดีกวาลูกประคบสมุนไพร
               อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) เมื่อพิจารณางบประมาณพบวา  มีราคาถูกกวาเฉลี่ยชิ้นละ 20 บาท

               ขอสรุป แผนประคบหินสมุนไพร เก็บความรอนไดเปนเวลานาน นําไปใชในการบําบัดรักษา ฟนฟู และสงเสริม
               สุขภาพ ลดตนทุนของโรงพยาบาล ลดระยะเวลาการรอคอยการนึ่งลูกประคบสมุนไพร สามารถพัฒนาเปน

               นวัตกรรมแบบอื่นตอไป







                                                         50
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57