Page 82 - ภาพนิ่ง 1
P. 82
76 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
แปลความหมายของผลที่ค้นพบหรือวิเคราะห์ รับการช่วยเหลือที่สำคัญจากที่ใดบ้าง เช่น ผู้
และสรุปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่วางไว้ บริหาร ผู้ช่วยเหลือทางเทคนิคบางอย่าง และผู้
สนับสนุนทุนการวิจัย การใส่ชื่อคนช่วยมาก ๆ
วิจารณ์ (discussion) อาจทำให้บทความด้อยความภูมิฐาน เพราะผู้อ่าน
เริ่มด้วยการวิจารณ์ผลการศึกษาตรงกับ จะอนุมานว่างานส่วนใหญ่มีคนช่วยทั้งหมด
วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการวิจัย หรือแตก
ต่างไปจากผลงานที่มีผู้รายงานไว้ก่อนหรือไม่ เอกสารอ้างอิง (references)
อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น วิจารณ์ผลที่ ดูในหัวข้อการเขียนเอกสารอ้างอิง
ไม่ตรงตามที่คาดหวัง อย่างไม่ปิดบัง แล้วจบ
บทความด้วยข้อสรุป บางวารสารแยกข้อสรุป 3. การเขียนเอกสารอ้างอิง
เป็นหัวข้อต่างหาก การอ้างอิงเอกสารใช้ระบบเวนคูเวอร์
(Vancouver style) โดยใส่ตัวเลขลอยอยู่
ข้อสรุป (conclusions) (superscript) หลังข้อความ หรือหลังชื่อบุคคล
ผลที่ได้ตรงกับวัตถุประสงค์การวิจัยหรือไม่ เจ้าของข้อความที่อ้างถึง โดยใช้หมายเลข 1
ให้ข้อเสนอแนะที่นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ สำหรับเอกสารอ้างอิงอันดับแรกและเรียงต่อไป
หรือให้ประเด็นคำถามการวิจัยสำหรับการวิจัย ตามลำดับ ถ้าต้องการอ้างอิงซ้ำให้ใช้หมายเลข
ต่อไป เดิม ห้ามใช้คำย่อในเอกสารอ้างอิงยกเว้นชื่อต้น
และชื่อวารสาร บทความที่บรรณาธิการรับตีพิมพ์
ตาราง รูป และแผนภาพ แล้วแต่ยังไม่เผยแพร่ ให้ระบุ “กำลังพิมพ์”
ควรแยกพิมพ์ต่างหากไม่ควรสอดแทรกไว้ บทความที่ไม่ได้ตีพิมพ์ให้แจ้ง “ไม่ได้ตีพิมพ์”
ในเนื้อเรื่อง แต่ควรเว้นที่ว่างไว้ในเนื้อเรื่องพอเป็น หลีกเลี่ยง “ติดต่อส่วนตัว” มาใช้อ้างอิง เว้นแต่มี
ที่เข้าใจ พร้อมกับเขียนแจ้งไว้ในกรอบว่า ข้อมูลสำคัญมากที่หาไม่ได้ทั่ว ๆ ไป ให้ระบุชื่อ
และวันที่ติดต่อในวงเล็บท้ายชื่อเรื่องที่อ้างอิง
หรือ ใส่รูปที่ 1 ชื่อวารสารในการอ้างอิง ให้ใช้ชื่อย่อตาม
ใส่ตารางที่ 1
รูปแบบของ U.S. National Library of
กิตติกรรมประกาศ (acknowledgments) Medicine ที่ตีพิมพ์ใน Index Medicus ทุกปี
ควรมีเพียงย่อหน้าเดียว แจ้งให้ทราบว่าได้ หรือในเว็บไซต์ http://www.nlm.nih.gov/tsd/