Page 87 - ภาพนิ่ง 1
P. 87
Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 81
4. ตาราง รูป และแผนภาพ เข้าใจได้สมบูรณ์ โดยไม่ต้องหาความหมายเพิ่ม
ตาราง รูป และแผนภาพที่จัดทำและนำ เติมในบทความ ดังนั้น ชื่อตารางควรสั้น ได้ใจ
เสนอได้ครบถ้วน จะกระตุ้นความสนใจผู้อ่าน ความ คอลัมน์เรียงลำดับความสำคัญ (เวลาที่
บทความและทำให้เข้าใจเนื้อหาบทความได้ ศึกษา, การดำเนินโรค) จากซ้ายไปขวา เรียง
รวดเร็ว ส่วนมากผู้อ่านจะอ่านชื่อเรื่อง บทคัดย่อ ลำดับของแถวจากบนลงล่าง
พิจารณาตารางและรูป ก่อนจะตัดสินใจว่าจะ - บทความหนึ่งเรื่องควรมีตาราง
อ่านบทความต่อไปหรือไม่ ไม่เกิน 3 - 5 ตาราง หรือเนื้อหา 1,000 คำต่อ 1
4.1 ตาราง ตาราง ถ้าผู้นิพนธ์มีข้อมูลมากให้เลือกเฉพาะ
ตารางเน้นการจัดระเบียบของคำพูด ข้อมูลที่สำคัญนำเสนอเป็นตารางในบทความ
ตัวเลข และเครื่องหมายต่างๆ บรรจุในคอลัมน์ - ต้องขออนุญาต และแสดงความ
เพื่อแสดง ข้อมูล และความสัมพันธ์ของข้อมูล ขอบคุณ กรณีนำข้อมูลในตารางมาจากบทความ
แนวทางการจัดทำตาราง มีดังนี้ ของผู้อื่น
- แยกแต่ละตารางออกจากเนื้อหา 4.2 รูปและแผนภาพ
บทความ ตารางละหนึ่งหน้ากระดาษ และไม่ควร รูปและแผนภาพประกอบ จะสื่อ
เสนอตาราง เป็นภาพถ่าย ความหมายได้ชัดเจน เน้นจุดสำคัญ และมี
- หัวคอลัมน์ เป็นตัวแทนอธิบาย ประสิทธิภาพมีแนวทางดังนี้
ข้อมูลในคอลัมน์ ควรจะสั้นหรือย่อๆ และอธิบาย - รูปหรือแผนภาพ ต้องคมชัด
รายละเอียดในเชิงอรรถใต้ตาราง เป็นภาพขาว – ดำ ภาพสีใช้เมื่อจำเป็น
- แถวเป็นข้อมูลที่สัมพันธ์กับ - ขนาดโดยทั่วไปใช้ 5 × 7 นิ้ว ไม่
คอลัมน์ หัวแถว (row heading) ใช้ตัวเข้มจะ ควรใหญ่ เกิน 8 × 10 นิ้ว ไม่ตัดขอบ ไม่ติดกับ
ทำให้เด่นขึ้น กระดาษรอง ไม่เขียนรายละเอียดหลังรูปภาพ ไม่
- เชิงอรรถ จะเป็นคำอธิบายราย ม้วนรูปภาพ ควรทำเครื่องหมายเล็ก ๆ ไว้ที่ขอบ
ละเอียดที่บรรจุในตารางได้ไม่หมด ไม่ควรใช้เลข รูปภาพและเขียนคำอธิบายไว้ต่างหาก
กำกับเพราะอาจสับสนกับเลขกำกับของเอกสาร บรรณาธิการจะเป็นผู้เขียนชื่อเจ้าของเรื่อง ชื่อ
อ้างอิง ให้ใช้เครื่องหมายตามลำดับนี้ * † ‡ § ¶ เรื่องไว้หลังรูปภาพทันทีที่ได้รับต้นฉบับ เพื่อ
# ** ป้องกันการสับสน, ไม่แนะนำให้เจ้าของเรื่องเขียน
- เมื่อผู้อ่าน อ่านตารางแล้วควร หลังภาพ เพราะอาจจะเขียนหนักมือเกินไป