Page 242 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 242
674 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
8) คำาแนะนำาสำาหรับผู้นิพนธ์ (Instructions to Au- คำาสำาคัญ (Key words)
thors) เป็นบทแนะนำาวารสารฯ และคำาแนะนำาให้แก่ผู้ที่มีความ ให้ระบุทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ใส่ไว้ท้าย
ประสงค์จะส่งบทความประเภทต่าง ๆ มาตีพิมพ์ในวารสารการ บทคัดย่อของแต่ละภาษา ทำาให้ผู้อ่านรู้ได้ว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับ
แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อะไร ใช้ประโยชน์ในการค้นหาบทความในระบบการสืบค้น
ต่าง ๆ โดยเฉพาะการค้นทางอินเทอร์เน็ต คำาสำาคัญอาจได้แก่
2. การเตรียมนิพนธ์ต้นฉบับ ขอบเขตของการศึกษา เช่น บริการสุขภาพ โรค กลุ่มที่ศึกษา
ชื่อบทความ (Title) ประกอบด้วย สถานที่ ประเทศ และวิธีหลักในการศึกษา เป็นต้น
(1) ชื่อเรื่อง ควรสั้น กะทัดรัด และสื่อเป้าหมายหลักของ คำาสำาคัญให้ใส่ไว้ท้ายบทคัดย่อ เป็นหัวข้อเรื่อง
การศึกษา ไม่ใช้คำาย่อ ความยาวไม่ควรเกิน 100 ตัวอักษร พร้อม สำาหรับทำาดัชนีคำาสำาคัญ (keyword index) ของปีวารสาร
ช่องไฟ ถ้าชื่อยาวมากให้ตัดเป็นชื่อรอง ชื่อเรื่องต้องมีภาษาไทย (volume) และดัชนีเรื่อง สำาหรับ Index Medicus โดยใช้ Medi-
และภาษาอังกฤษ โดยชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ จะใช้อักษรตัวแรก cal Subject Headings (MeSH) terms ของ U.S. National
เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด ยกเว้นคำาบุพบท (preposition) Library of Medicine เป็นแนวทางการให้คำาสำาคัญ ทั้งนี้ไม่ควร
(2) ชื่อผู้นิพนธ์ให้มีทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ไม่ เกิน 5 คำา
ใช้คำาย่อ) บทนำา (Introduction)
(3) หน่วยงานหรือสถาบันที่ผู้นิพนธ์สังกัด/ปฏิบัติงาน เป็นส่วนของเนื้อหาที่บอกความเป็นมา โดยมีการ
ให้มีทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ไม่ใช้คำาย่อ) ทบทวนวรรณกรรมให้เห็นถึงเหตุผลความจำาเป็นของการศึกษา
(4) ชื่อ ที่อยู่ และ E-mail address ของผู้นิพนธ์ ที่ใช้ วิจัย ให้ข้อมูลทางวิชาการ พร้อมทั้งจุดมุ่งหมายหรือแนวคิด
ติดต่อหรือเป็นผู้ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับต้นฉบับและบทความที่ อย่างคร่าว ๆ และเอกสารอ้างอิง เป็นส่วนที่อธิบายให้ผู้อ่านรู้ว่า
ส่งพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ จะตอบคำาถามอะไร อย่างกระชับ และชัดเจน และย่อหน้าสุดท้าย
(5) แหล่งทุนสนับสนุนการศึกษา จะแสดงวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนั้นด้วย ความยาวไม่
บทคัดย่อ (Abstract) ควรเกิน 2 หน้า
วารสารฉบับนี้ ให้จัดทำาบทคัดย่อแบบเป็นข้อความ ระเบียบวิธีศึกษา (Methodology)
ย่อหน้าเดียว เป็นเนื้อความย่อตามลำาดับโครงสร้างของบทความ เขียนชี้แจงแยกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ คือ วัสดุ (Mate-
ได้แก่ (1) หลักการและวัตถุประสงค์ (2) ระเบียบวิธีศึกษา (3) rial) และวิธีการศึกษา (Method)
ผลการศึกษา (4) อภิปราย และ (5) ข้อสรุป ไม่เกิน 250 คำา วัสดุ (Material) ให้บอกรายละเอียดของสิ่งที่นำามา
หรือ 15 บรรทัด ใช้ภาษารัดกุมเป็นประโยคสมบูรณ์ มีความ ศึกษา เช่น ผู้ป่วย คนปรกติ สัตว์ พืช รวมถึงจำานวน และลักษณะ
หมายในตัวเองไม่ต้องหาความหมายต่อ ต้องเป็นประโยคอดีต เฉพาะของตัวอย่างที่ศึกษา เช่น เพศ อายุ นำ้าหนัก ในกรณี
(ภาษาอังกฤษ) ไม่ควรมีคำาย่อ โดยเขียนทั้งบทคัดย่อภาษาไทย ที่ทำาการศึกษาวิจัยในมนุษย์หรือสัตว์ ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ
และบทคัดย่อภาษาอังกฤษ บทคัดย่อภาษาไทยให้ใส่ ชื่อเรื่อง ที่ใช้ในการศึกษา ต้องบอกถึงการอนุญาตจากผู้ที่เข้ารับการ
ชื่อ-สกุล และหน่วยงานที่สังกัดของผู้นิพนธ์เป็นภาษาไทยและ ศึกษา และการยอมรับจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมที่
ภาษาอังกฤษไว้เหนือเนื้อความย่อ บทคัดย่อภาษาอังกฤษของ เกี่ยวข้อง ในการศึกษาวิจัยพืช ควรมีตัวอย่างพรรณไม้อ้างอิง
บทความภาษาไทย ให้ใส่คำาว่า Abstract ไว้เหนือเนื้อความย่อ งานวิจัย (voucher specimens) ที่เก็บจากพืชต้นที่นำาไป
บทคัดย่อแต่ละภาษาไม่ควรมีอีกภาษาหนึ่งปน โดยไม่มีความ ประกอบการวิจัยนั้น ๆ อายเก็บรักษาไว้เพื่ออ้างอิงในหอพรรณ
จำาเป็น ไม้หรือที่สถาบัน