Page 188 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 188
404 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
1.2 การเลือกชนิดของตัวท�าละลายในการสกัด โครมาโทกราฟีผิวบาง ค่าพื้นที่ใต้พีคเฉลี่ยของสาร
การศึกษาชนิดของตัวท�าละลายในการสกัด ผล ฟริเดลีนที่สกัดด้วยเฮกเซน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.00255
การศึกษาพบว่าเมื่อน�าสารละลายที่ได้จากการสกัด และที่สกัดด้วยเอทานอล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.00210
รากกัญชาด้วยเฮกเซนและเอทานอล วิเคราะห์ด้วย (Figure 4 and 5)
เครื่องเดนซิโทมิเตอร์โครมาโทกราฟีผิวบาง ตัวอย่าง ดังนั้นในการพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปริมาณฟริเด
ละ 3 ซ�้า พบแถบสารฟริเดลีน ที่ hR f เฉลี่ยเท่ากับ ลีนในรากกัญชา จึงเลือกใช้เฮกเซนเป็นตัวท�าละลาย
39.7 และเมื่อน�ามาอ่านแผ่นด้วยเครื่องตรวจอ่านแผ่น ในการสกัดรากกัญชา
1.3 การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการสกัด
การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการสกัด
พบว่าสารละลายที่ได้จากการสกัดตัวอย่างรากกัญชา
ซึ่งสกัดด้วยวิธีเดียวกันโดยการรีฟลักซ์กับเฮกเซน
แต่ระยะเวลาที่ใช้ในการสกัดแตกต่างกัน เมื่อน�ามา
วิเคราะห์ด้วยเครื่องเดนซิโทมิเตอร์โครมาโทกราฟี
ผิวบาง และน�ามาอ่านแผ่นด้วยเครื่องตรวจอ่านแผ่น
โครมาโทกราฟีผิวบางพบว่าค่าพื้นที่ใต้พีคของสาร
Figure 4 Chromatogram of friedelin extraction results ฟริเดลีนจากการสกัดด้วยระยะเวลา 30 นาที มีค่า
in Cannabis sativa L. roots with hexane (1, 2 น้อยกว่าระยะเวลาสกัด 60 และ 90 นาที แต่ค่าพื้นที่
and 3), ethanol (4, 5 and 6) compare with
standard solution of friedelin (7 and 8) were ใต้พีคของสารฟริเดลีนจากการสกัดด้วยระยะเวลา 60
examined under ultraviolet light 366 nm และ 90 นาที ไม่แตกต่างกัน (Figure 6 and Table 1)
Figure 5 Densitogram of friedelin extraction results in Cannabis sativa L. roots with hexane (1, 2 and 3), ethanol
(4, 5 and 6) compare with standard solution of friedelin (7 and 8) were examined under ultraviolet
light 366 nm