Page 186 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 186

402 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                %recovery   =  (C1 – C2) 5 100         ตัวอย่างรากกัญชา ซ�้า 10 ครั้ง ในวันเดียวกัน ค�านวณ
                                   C3                  ค่าร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ (%RSD)

                เมื่อ C1 คือ ความเข้มข้นของสารใน spiked   intermediate precision วิเคราะห์ปริมาณสาร
           sample                                      ฟริเดลีน ในตัวอย่างรากกัญชา เป็นเวลา 3 วัน ๆ ละ 10
                   C2 คือ ความเข้มข้นของสารใน sample   ซ�้า ค�านวณค่าร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์

           blank                                             2.2.3 การทดสอบขีดจ�ากัดของการตรวจ
                   C3 คือ ความเข้มข้นของสารที่เติม     พบ (Limit of Detection, LOD)
                การทดสอบความเที่ยง                            ค�านวณค่าประมาณ (estimated) ของ

                repeatability วิเคราะห์ปริมาณสารฟริเดลีน ใน  LOD จาก calibration curve

           LOD (µg/ml), ค่าประมาณ  =  3 5 standard error/slope

           LOD (%w/w), ค่าประมาณ  =  LOD (µg/ml) 5 ปริมาตรที่เตรียม (ml) 5 ระดับเจือจาง 5 100
                                                                         1,000,000 5 น�้าหนักตัวอย่าง (g)


                เตรียมสารละลายตัวอย่างรากกัญชา โดยชั่ง     เตรียมสารละลาย spiked sample ให้มีความ
           ตัวอย่างรากกัญชา 2 กรัม สกัดด้วยเฮกเซน โดย   เข้มข้นใกล้เคียงกับค่าประมาณของ LOD แล้วตรวจ
           วิธีรีฟลักซ์ เป็นเวลา 60 นาที กรองผ่านกระดาษกรอง  วิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีนใน spiked sample 6 ซ�้า

           เบอร์ 4 น�าสารละลายที่ได้ไประเหยแห้งด้วยเครื่อง       2.2.4 การทดสอบขีดจ�ากัดของการวัดเชิง
           ระเหยสุญญากาศ จากนั้นละลายและปรับปริมาตร    ปริมาณ (Limit of Quantitation, LOQ)

           ด้วยคลอโรฟอร์มจนครบ 5 มิลลิลิตร โดยใช้ขวด          ค�านวณค่าประมาณของ LOQ จาก cali-
           แก้ววัดปริมาตร                              bration curve  ดังนี้

           LOQ (µg/ml), ค่าประมาณ  =  10 5 standard error/slope

           LOQ (%w/w), ค่าประมาณ  =  LOQ (µg/ml) 5 ปริมาตรที่เตรียม (ml) 5 ระดับเจือจาง 5 100
                                                            1,000,000 5 น�้าหนักตัวอย่าง (g)


                  เตรียมสารละลาย spiked sample ให้มี   ตัวอย่างเพื่อตรวจสอบการแยกองค์ประกอบทางเคมี
           ความเข้มข้นใกล้เคียงกับค่าประมาณของ LOQ แล้ว  ของสารในสารละลายตัวอย่างรากกัญชา และค่า hRf
           ตรวจวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีนใน spiked sample 6   ที่เหมาะสมของฟริเดลีนในสารละลายตัวอย่างราก

           ซ�้า ค�านวณค่าร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์  กัญชา
           และร้อยละของการคืนกลับ                          2.3  การวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีนในราก

                  2.2.5  การทดสอบความจ�าเพาะ (specificity)  กัญชา
                   หยดสารละลาย standard solution ความ         2.3.1 การเตรียมสารละลายตัวอย่างราก
           เข้มข้น 831.60 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และสารละลาย  กัญชา
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191