Page 177 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 177
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 393
ทางเคมีด้วยวิธีโครมาโทกราฟีผิวบาง โดยท�าปฏิกิริยา สมุนไพรตามธรรมชาติ เถ้าของพืชมีการละลายได้ดีใน
กับสารละลายทดสอบเอ็นพี/พีอีจี ซึ่งเป็นสารเคมี กรดไฮโดรคลอริก มีสารคงเหลือจากการเผาไหม้น้อย
ที่ให้ผลบวกในการท�าปฏิกิริยากับสารกลุ่มฟลาโว- การวิเคราะห์ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรดจึงเป็นวิธี
นอยด์ จากผลการทดสอบ พบว่าสารสกัดเอทานอล ตรวจสอบสิ่งแปลกปลอมที่เป็นสารอนินทรีย์ เช่น หิน
จากดอกดาหลามีองค์ประกอบทางเคมีอย่างน้อย 5 กรวด หรือทราย ที่เกิดขึ้น ในกระบวนการเก็บเกี่ยว
ชนิด ตัวอย่างล�าดับที่ 1 ถึง 5 มีผลโครมาโทแกรมไม่ และท�าความสะอาด หรืออาจมีสิ่งแปลกปลอมที่ได้จาก
เหมือนกับตัวอย่างล�าดับที่ 6 ถึง 12 ตัวอย่างล�าดับ ปุ๋ยเคมี การก�าหนดมาตรฐานปริมาณเหล่านี้จึงต้อง
ที่ 2 ถึง 12 ตรวจพบสารที่มีค่า hR f และสีตรงกัน ระบุว่า “ไม่เกิน’’ โดยทั่วไปสมุนไพรไม่ควรมีปริมาณ
กับสารมาตรฐานกรดคลอโรจีนิคที่ค่า hR f เท่ากับ ความชื้นมากกว่าร้อยละ 10 โดยน�้าหนัก ปริมาณเถ้า
50-51 (Table 3 and Figure 2) ส�าหรับตัวอย่างดอก รวมจะมีค่าอยู่ที่ร้อยละ 1-20 โดยน�้าหนัก และปริมาณ
ดาหลาล�าดับที่ 1 ที่เก็บมาจากอ�าเภอเบตง จังหวัด เถ้าที่ไม่ละลายในกรดจะมีค่าอยู่ที่ร้อยละ 1-10 โดย
ยะลา มีโครมาโทแกรมต่างไปจาก 11 ตัวอย่าง ที่กล่าว น�้าหนัก [16-21] ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณสารสกัดด้วย
มาข้างต้น คือมีองค์ประกอบทางเคมี 1 ชนิด และตรวจ ตัวท�าละลาย ในการศึกษานี้เลือกใช้น�้าและเอทานอล
ไม่พบกรดคลอโรจีนิค ทั้งนี้อาจเป็นเพราะความแตก 95% เป็นตัวท�าละลาย ปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้าและ
ต่างของสายพันธุ์ อายุต้นสมุนไพร ระยะเวลาในการ ปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95% เป็นสิ่งบ่งชี้ถึง
เก็บเกี่ยว สภาพดินและแร่ธาตุ หรืออาจจะเป็นเพราะ คุณภาพทางเคมี เนื่องจากบ่งชี้ถึงสารที่ออกฤทธิ์หรือ
สภาพภูมิประเทศหรือภูมิอากาศ ซึ่งต้องมีการศึกษา กลุ่มของสารออกฤทธิ์หรือสารที่ได้จากการสกัดด้วย
ต่อไป (Table 3 and Figure 2) ตัวท�าละลายแล้วน�าไปใช้ประโยชน์ทางยาได้ การ
การประเมินคุณสมบัติทางกายภาพและทาง ก�าหนดมาตรฐานปริมาณเหล่านี้จึงต้องระบุว่า “ไม่
เคมีของดอกดาหลา ปริมาณความชื้นด้วยวิธีกราวิ- น้อยกว่า’’ จากผลการทดสอบเมื่อศึกษาคุณสมบัติ
เมทริก ปริมาณเถ้ารวมและเถ้าที่ไม่ละลายในกรด ทางกายภาพและทางเคมีในดอกดาหลา จ�านวน 12
การก�าหนดปริมาณความชื้นมีความส�าคัญในการ ตัวอย่าง โดยวิเคราะห์ปริมาณความชื้นด้วยวิธีกราวิ-
ควบคุมคุณภาพทางเคมีเนื่องจากความชื้นมีผลต่อ เมทริก ปริมาณเถ้ารวม ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายใน
ความคงสภาพของตัวอย่าง ถ้ามีความชื้นมากจะท�าให้ กรด ปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า และปริมาณสิ่งสกัดด้วย
สมุนไพรเกิดการปนเปื้อนจุลินทรีย์ได้ง่าย รวมทั้งอาจ เอทานอล 95% พบว่ามีค่าเฉลี่ย ± ค่าเบี่ยงเบน
เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวด้วยน�้า (hydrolysis) ท�าให้ มาตรฐาน เท่ากับร้อยละ 9.05 ± 2.79, 9.34 ± 0.53,
องค์ประกอบทางเคมีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ส่วนเถ้า 0.20 ± 0.06, 19.87 ± 3.45 และ 13.24 ± 1.90 โดย
นั้น หมายถึง สิ่งที่คงเหลืออยู่จากการเผาไหม้อย่าง น�้าหนัก ตามล�าดับ (Table 5) ทั้งนี้ การประเมิน
สมบูรณ์ เถ้าของพืชส่วนใหญ่ประกอบด้วยด่าง ใน คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดอกดาหลา
รูปคาร์บอเนต (carbonate) ฟอสเฟต (phosphate) ในวิธีการต่าง ๆ ที่กล่าวมา (Table 5)
คลอไรด์ (chloride) และซัลเฟต (sulphate) ปริมาณ ผลจากการศึกษานี้สามารถเสนอเข้าสู่การ
เถ้ารวม เป็นการบ่งบอกถึงคุณสมบัติทางกายภาพของ พิจารณาบรรจุเป็นมอโนกราฟของวัตถุดิบสมุนไพร