Page 176 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 176
392 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
Table 5 Quality control guidelines of Etlingera elatior (Jack) R.M. Smith Flowers
Physico-Chemical Mean ± SD Criteria Quality control
Properties (Mean + 10%) (Mean - 10%) guidelines
Moisture content 9.05 ± 2.79 9.96 - Not more than
10% w/w
Total ash content 9.34 ± 0.53 10.27 - Not more than
11% w/w
Acid-insoluble ash 0.20 ± 0.06 0.22 - Not more than
content 1% w/w
Water-soluble 19.87 ± 3.45 - 17.88 Not less than
extractive content 18% w/w
95%ethanol-soluble 13.24 ± 1.90 - 11.92 Not less than
extractive content 12% w/w
อภิปร�ยผล รายงานการวิจัยที่ได้ตีพิมพ์แล้ว ผลบวกของปฏิกิริยา
การศึกษานี้มีความส�าคัญเนื่องจากจะน�าไปสู่ คือ สารละลายเปลี่ยนจากสีชมพูอ่อนเป็นสีแดงเข้ม
การก�าหนดมาตรฐานของดอกดาหลาในประเทศไทย ส่วนปฏิกิริยา ferric chloride test เป็นการทดสอบ
เพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพสมุนไพรชนิดนี้ก่อนน�า สารกลุ่มฟีนอลิก ผลบวกของปฏิกิริยาคือ สารละลาย
เข้าสู่กระบวนการผลิตเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ จะเปลี่ยนจากสีชมพูอ่อนเป็นสีน�้าเงินแกมด�า และ
ซึ่งประกอบด้วย 1) การพัฒนาวิธีการตรวจเอกลักษณ์ ปฏิกิริยา ninhydrin test เป็นการทดสอบสารกลุ่ม
ทางเคมีของดอกดาหลาโดยปฏิกิริยาการเกิดสีและวิธี กรดอะมิโน ผลบวกของปฏิกิริยาคือ สารละลายจะ
โครมาโทกราฟีผิวบางเพื่อตรวจสอบว่าเป็นสมุนไพร เปลี่ยนจากสีชมพูอ่อนเป็นสีม่วงปนน�้าเงิน จากผล
ถูกชนิด และ 2) การประเมินคุณลักษณะทางกายภาพ การทดสอบนี้แสดงว่าดอกดาหลาแห้งมีองค์ประกอบ
และทางเคมีเพื่อก�าหนดเป็นข้อก�าหนดคุณภาพ ทางเคมีกลุ่มฟลาโวนอยด์ ฟีนอลิก และกรดอะมิโน
ส�าหรับดอกดาหลา ผลจากการศึกษานี้จะเสนอเข้าสู่ ตามล�าดับ จากการทบทวนรายงานการศึกษา พบว่า
การพิจารณาบรรจุเป็นโมโนกราฟในต�ารามาตรฐาน กรดคลอโรจีนิคซึ่งเป็นสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ และ
ยาสมุนไพรไทยต่อไป การตรวจเอกลักษณ์ทางเคมี มีรายงานเกี่ยวกับฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจหลาย
[6-7]
ของดอกดาหลาจะอาศัยปฏิกิริยาเคมีที่สัมพันธ์กับ ชนิด เช่น ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ยับยั้งเอน
กลุ่มสารส�าคัญที่เป็นองค์ประกอบในดอกดาหลา ไซม์คอลลาจิเนสและไทโรซิเนส เป็นต้น ดังนั้นใน
[8]
ปฏิกิริยา Shinoda’s test เป็นการทดสอบสารกลุ่ม การศึกษานี้จึงได้เลือกใช้กรดคลอโรจีนิคเป็นสาร
ฟลาโวนอยด์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบส�าคัญในดอกดา เทียบ (marker) ในการตรวจสอบองค์ประกอบทาง
หลา เช่น กรดคลอโรจีนิค เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับ เคมีของดอกดาหลา ส�าหรับผลการพิสูจน์เอกลักษณ์