Page 172 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 172

388 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                2.2  การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทาง  มีความเป็นกลาง เมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส น�า
           เคมี (physico-chemical properties) [15]     เถ้าที่กรองได้และกระดาษกรองใส่ลงในถ้วยกระเบื้อง
                   1) ปริมาณความชื้นด้วยวิธีกราวิเมทริก   ใบเดิม ท�าให้แห้งด้วยเตาร้อน เมื่อแห้งแล้วน�าไปเผา

           (gravimetric) [15]                          ต่อด้วยเตาเผาอุณหภูมิสูงที่อุณหภูมิ 500˚ซ จนได้น�้า
                  ชั่งตัวอย่าง 5 กรัม ที่ทราบน�้าหนักที่ถูกต้อง  หนักคงที่ น�าไปค�านวณหาค่าร้อยละของปริมาณเถ้าที่

           เป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่งในขวดชั่งน�้าหนักที่ทราบ น�้า  ไม่ละลายในกรด (Table 4)
           หนักคงที่ น�าไปอบที่อุณหภูมิ 105˚ซ นาน 5 ชั่วโมง        4) ปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า [15]
           และอบต่ออีก 1 ชั่วโมง ท�าให้เย็นลงในโถแก้วดูด        ชั่งตัวอย่าง 5 กรัม ที่ทราบน�้าหนักที่ถูกต้อง

           ความชื้นที่ใส่ซิลิกาเจล เพื่อหาน�้าหนักคงที่ (หมายถึง   เป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่ง น�ามาแช่สกัดด้วยน�้าที่ท�าให้
           น�้าหนักที่ได้จากการชั่ง 2 ครั้ง มีค่าต่างกันไม่เกิน 0.5   อิ่มตัวด้วยคลอโรฟอร์ม (chloroform) 100 มิลลิลิตร
           มิลลิกรัม โดยการชั่งครั้งที่สองเพื่อหาความแตกต่าง  (เตรียมโดยผสมคลอโรฟอร์ม 2.5 มิลลิลิตร กับน�้า

           ของน�้าหนัก จะชั่งภายหลังจากการอบที่ใช้เวลาเพิ่มขึ้น  กลั่น 900 มิลลิลิตร จากนั้นปรับปริมาตรด้วยน�้ากลั่น
           อีกหนึ่งชั่วโมง) น�าไปค�านวณหาค่าร้อยละของปริมาณ  จนครบ 1,000 มิลลิลิตร) ในขวดแก้วที่มีฝาปิดสนิท

           ความชื้นโดยค�านวณจากน�้าหนักที่สูญเสียไปเมื่ออบ  นาน 24 ชั่วโมง โดย 6 ชั่วโมงแรก ให้เขย่าด้วยเครื่อง
           ให้แห้ง (Table 4)                           เขย่า ตั้งทิ้งไว้ 18 ชั่วโมง กรอง น�าสารละลายที่กรอง
                  2) ปริมาณเถ้ารวม [15]                ได้ ปริมาตร 20.0 มิลลิลิตร ใส่ในถ้วยปากกว้างที่ทราบ

                   ชั่งตัวอย่าง 2 กรัม ที่ทราบน�้าหนักที่ถูก  น�้าหนักคงที่ ระเหยให้แห้งบนอ่างอังไอน�้า น�าไปอบที่
           ต้องเป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่ง ในถ้วยกระเบื้องที่  อุณหภูมิ 105˚ซ จนได้น�้าหนักคงที่ น�าไปค�านวณหา

           ทราบน�้าหนักคงที่ ในเตาเผาอุณหภูมิสูง โดยค่อย ๆ   ค่าร้อยละของปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า (Table 4)
           เพิ่มอุณหภูมิเป็น 450˚ซ จนได้เถ้าสีขาวที่ปราศจาก       5) ปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95% [15]
           คาร์บอน ทิ้งไว้ให้เย็นในโถแก้วดูดความชื้นที่ใส่ซิลิกา        ชั่งตัวอย่าง 5 กรัม ที่ทราบน�้าหนักที่ถูกต้อง

           เจล น�าไปชั่งน�้าหนัก และเผาต่ออีก 1 ชั่วโมง น�าไปชั่ง  เป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่ง น�ามาแช่สกัดด้วยเอทานอล
           น�้าหนักเพื่อหาน�้าหนักคงที่ น�าไปค�านวณหาค่าร้อยละ  95% ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ในขวดแก้วที่มีฝาปิด
           ของปริมาณเถ้ารวม (Table 4)                  สนิท นาน 24 ชั่วโมง โดย 6 ชั่วโมงแรกให้เขย่าด้วย

                  3) ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด [15]   เครื่องเขย่า ตั้งทิ้งไว้ 18 ชั่วโมง กรอง น�าสารละลายที่
                   เติมกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้น 2   กรองได้ ปริมาตร 20.0 มิลลิลิตร ใส่ในถ้วยปากกว้างที่
           โมล่าร์ ปริมาตร 25.0 มิลลิลิตร ลงในถ้วยกระเบื้องที่  ทราบน�้าหนักคงที่ ระเหยให้แห้งบนอ่างอังไอน�้า น�าไป

           มีเถ้ารวมที่ได้ จากข้อ 2 ปิดด้วยฝากระจกนาฬิกา ต้ม  อบที่อุณหภูมิ 105˚ซ จนได้น�้าหนักคงที่ น�าไปค�านวณ
           นาน 5 นาที กรองด้วยกระดาษกรองชนิดปราศจาก    หาค่าร้อยละของปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95%

           เถ้า ค่อย ๆ ล้างตะกอนด้วยน�้าร้อนจนน�้าล้างตะกอน  (Table 4)
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177