Page 168 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 168

384 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           นอลิกและแอนโทไซยานินในดาหลา มีคุณสมบัติใน   pv. campestris ด้วยวิธี agar well diffusion พบว่า
           การยับยั้งเอนไซม์คอลลาจิเนสและไทโรซิเนสที่เป็น  ส่วนของดาหลาและชนิดของตัวท�าละลายมีส่วนร่วมที่

           สาเหตุท�าให้ผิวหนังเกิดรอยเหี่ยวย่นและหมองคล้า [7]  แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) ใน
           Muangkaewngam และคณะ (ค.ศ. 2016) พบว่าการ   การยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียทดสอบ สารสกัด
           ตรวจสอบด้วยวิธีการทางพฤกษเคมีเบื้องต้นของสาร  หยาบในเอธิลอะซิเตทและเอทานอลของดาหลาทุก

           สกัดหยาบของทั้ง 5 ส่วน คือสารสกัดหยาบที่สกัดจาก  ส่วนยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียทั้ง 7 ชนิด โดยสาร
           ล�าต้น ใบ ดอก เหง้า และรากของดาหลาด้วยตัวท�า  สกัดหยาบราก ล�าต้นและใบ ในเอธิลอะซิเตทเหมาะ
           ละลาย 5 ชนิด คือ เฮกเซน (hexane), ไดคลอโรมีเทน   สมที่สุดต่อการยับยั้งแบคทีเรียทดสอบทุกชนิดยกเว้น

           (dichloromethane), อะซิโตน (acetone), เมทา  S. typhimurium TISTR 292 ซึ่งสารสกัดหยาบเหง้าใน
           นอล (methanol) และเอทานอล (ethanol) พบว่าสาร  ปิโตรเลียมอีเทอร์และรากในเอทานอลยับยั้งได้ดีกว่า [10]
           สกัดหยาบเอทานอลจากทุกส่วนของดาหลาจะมีองค์       ประเทศไทยมีการน�าดอกดาหลามาบริโภคเป็น

           ประกอบของสารทั้ง 7 ชนิด คือ อัลคาลอยด์ (alka-  อาหารประจ�าวันอย่างแพร่หลาย ภาคใต้นิยมน�ามา
           loids), ฟลาโวนอยด์ (flavonoids), ฟีนอล (phenols),   ใช้เป็นพืชสมุนไพรผสมในข้าวย�า ดอกตูมและหน่อ

           ไกลโคไซด์ (glycosides), เทอร์ปินอยด์ (terpenoids),   อ่อนน�าไปปรุงอาหาร ได้รสชาติเผ็ดซ่าอ่อน ๆ กลิ่น
                                             [8]
           แทนนิน (tannins) และซาโปนิน (saponins) Run-  หอมเด่นเป็นเอกลักษณ์ และจากข้อมูลการศึกษา
           gruang และคณะ (ค.ศ. 2018) ได้รายงานผลการ    ทางวิทยาศาสตร์ข้างต้นแสดงถึงฤทธิ์ทางชีวภาพของ

           ศึกษาปริมาณแอนโทไซยานินและฤทธิ์การต้านอนุมูล  ดาหลาที่น่าสนใจหลายชนิด มีศักยภาพสามารถน�าไป
           อิสระของสารสกัดดอกดาหลา พบว่าการสกัดด้วย    พัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค ผลิตภัณฑ์

           โพรพิลีนไกลคอล (propylene glycol) มีปริมาณ   เสริมสุขภาพ หรือผลิตภัณฑ์เครื่องส�าอางได้ ท�าให้
           ฟีนอลิกทั้งหมดสูงที่สุด เท่ากับ 818.69 ± 85.37   ข้อมูลในการควบคุมคุณภาพทางเคมีของวัตถุดิบดอก
           มิลลิกรัม GAE/100 กรัมของตัวอย่างสารสกัด รอง  ดาหลาเป็นสิ่งจ�าเป็น แต่ปัจจุบันข้อมูลดังกล่าวยังมีอยู่

           ลงมาคือสกัดด้วยเอทานอล มีปริมาณฟีนอลิกเท่ากับ   น้อยมาก จึงเป็นที่มาของการศึกษานี้
           210.82 ± 8.59 มิลลิกรัม GAE/100 กรัมของตัวอย่าง     การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคุณภาพ
                  [9]
           สารสกัด  Kaew-on (ค.ศ. 2018) ได้รายงานผล    ทางเคมีของดอกดาหลา เพื่อเป็นแนวทางในการ
           การศึกษาฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดหยาบ    ควบคุมคุณภาพของดอกดาหลาและผลิตภัณฑ์จาก
           ดาหลาส่วนราก เหง้า ล�าต้น ใบ และดอกในปิโตรเลียม  ดอกดาหลาต่อไป
           อีเทอร์ เอธิลอะซิเตท และเอทานอล ตามล�าดับ ความ

           มีขั้วต่อแบคทีเรียก่อโรค 7 ชนิด ได้แก่ Escherichia      ระเบียบวิธีศึกษ�
           coli O157:H7, E. coli ATCC 8739, Salmonella

           typhimurium S003, S. typhimurium TISTR 292,   1. วัสดุ
           Staphylococcus aureus TISTR 118, Pectobacte-     1.1 ตัวอย่างสมุนไพร
           rium carotovorum และ Xanthomonas campestris      ตัวอย่างวัตถุดิบดอกดาหลาสดระยะดอกบาน
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173