Page 133 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 133

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  547




            ตารางที่ 5  ข้อกำาหนดคุณภาพของใบชะมวงแห้ง

             คุณสมบัติทางกายภาพ        ค่าเฉลี่ย ± SD     เกณฑ์ก�าหนด          ข้อก�าหนดคุณภาพ
             และทางเคมี                              ค่าสูงสุด     ค่าต�่าสุด
                                                  (ค่าเฉลี่ย + 10%)  (ค่าเฉลี่ย - 10%)

             ปริมาณความชื้น            6.98 ± 0.81    7.68           -        ไม่เกิน 8% โดยนำ้าหนัก
             ปริมาณเถ้ารวม             5.88 ± 1.26    6.47           -        ไม่เกิน 7% โดยนำ้าหนัก
             ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด   0.03 ± 0.03   0.03         -        ไม่เกิน 1% โดยนำ้าหนัก
             ปริมาณสิ่งสกัดด้วยนำ้า    25.02 ± 5.85     -          22.52    ไม่น้อยกว่า 23% โดยนำ้าหนัก
             ปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95%  22.09 ± 6.43   -       19.88    ไม่น้อยกว่า 20% โดยนำ้าหนัก
             ปริมาณรวมของสาร phenolic   2.36 ± 1.39     -           2.12    ไม่น้อยกว่า 2% โดยนำ้าหนัก
             คำานวณในรูป gallic acid




                           อภิปร�ยผล                    ปฏิกิริยา Ferric chloride test เป็นการทดสอบสาร

                 การศึกษานี้มีความส�าคัญเนื่องจากจะน�าไปสู่  กลุ่ม phenolic ผลบวกของปฏิกิริยาคือ สารละลาย
            การก�าหนดมาตรฐานของใบชะมวงของประเทศไทย      จะเปลี่ยนจากสีเหลืองแกมน�้าตาลเป็นสีน�้าเงินแกม
            เพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพสมุนไพรชนิดนี้ก่อนน�า  ด�า จากผลการทดสอบนี้แสดงว่าใบชะมวงแห้งมีองค์

            เข้าสู่กระบวนการผลิตยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่ง  ประกอบทางเคมีกลุ่ม flavonoids และ phenolic
            ประกอบด้วย 1) การพัฒนาวิธีการตรวจเอกลักษณ์  ตามล�าดับ จากการทบทวนรายงานการศึกษา พบ

            ทางเคมีของใบชะมวงโดย color reaction และ Thin   ว่าสาร orientin ซึ่งเป็นสารกลุ่ม flavonoids มี
            Layer Chromatography เพื่อตรวจสอบว่าเป็น    รายงานเกี่ยวกับฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจหลาย
            สมุนไพรถูกชนิด และ 2) การประเมินคุณลักษณะ   ชนิด เช่น ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์  ฤทธิ์ยับยั้งการดูด
                                                                                [4]
            ทางกายภาพและทางเคมีเพื่อก�าหนดเป็นข้อก�าหนด  ซึมคอเลสเตอรอล ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ pancreatic
            คุณภาพส�าหรับใบชะมวง ผลจากการศึกษานี้จะ     lipase และฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ Hydroxy-methyl-
            เสนอเข้าสู่การพิจารณาบรรจุเป็นมอโนกราฟในต�ารา  glutaryl-Coenzyme A reductase และฤทธิ์ลด

            มาตรฐานยาสมุนไพรไทยต่อไป การตรวจเอกลักษณ์   ไขมันในหลอดทดลอง สามารถยับยั้งการดูดซึม
            ทางเคมีของใบชะมวงจะอาศัยปฏิกิริยาเคมีที่สัมพันธ์  คอเลสเตอรอลเข้าสู่เซลล์ Caco-2 ได้ 14.6% ยับยั้ง
            กับกลุ่มสารส�าคัญที่เป็นองค์ประกอบในใบชะมวง   การท�างานของเอนไซม์ Hydroxy-methyl-glutaryl-

            ปฏิกิริยา Shinoda’s test เป็นการทดสอบสารกลุ่ม   Coenzyme A reductase ได้ 97.06% และยับยั้ง
            flavonoids ซึ่งเป็นองค์ประกอบส�าคัญในใบชะมวง   การท�างานของเอนไซม์ pancreatic lipase ด้วย

            เช่น orientin และ vitexin เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับ  ค่า IC 50 196.60 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และพบสาร
            รายงานการศึกษาในอดีต ผลบวกของปฏิกิริยาคือ   กลุ่ม flavonoid C-glycoside 2 ชนิด คือ vitexin
            สารละลายเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีแดงแกมชมพู ส่วน  และ orientin และสารกลุ่ม steroids ได้แก่ beta-
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138