Page 132 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 132

546 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                         ผลก�รศึกษ�                    จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช มี

                จากการพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมีด้วยปฏิกิริยา  โครมาโทแกรมต่างไปจาก 13 ตัวอย่าง ที่กล่าวมาข้าง
           การเกิดสีของสารสกัดด้วยตัวท�าละลายจากใบชะมวง  ต้น คือ ให้แถบสารสีส้ม สีเหลือง สีเหลืองปนส้ม และสี
           แห้ง พบว่าเมื่อเติม magnesium ribbon และทดสอบ  เขียว รวมกันทั้งหมด10 แถบ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะความ

           ด้วยการท�าปฏิกิริยากับ hydrochloric acid ทุก  แตกต่างของสายพันธุ์ อายุต้นสมุนไพร ระยะเวลาใน

           ตัวอย่างเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีแดงแกมชมพู แสดง  การเก็บเกี่ยว สภาพดินและแร่ธาตุ หรืออาจจะเป็น
           ว่าให้ผลบวกกับสารกลุ่ม flavonoids และการทดสอบ  เพราะสภาพภูมิประเทศหรือภูมิอากาศ ซึ่งต้องมีการ
           ด้วยสารละลาย ferric chloride ทุกตัวอย่างเปลี่ยน  ศึกษาต่อไป (ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 และภาพที่ 2)

           จากสีเหลืองแกมน�้าตาลเป็นสีน�้าเงินแกมด�า แสดงว่า     การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพและทาง

           ให้ผลบวกกับสารกลุ่ม phenolic                เคมีของใบชะมวงแห้ง โดยการวิเคราะห์ปริมาณ
                ดังนั้นองค์ประกอบทางเคมีของใบชะมวงมีสาร  ความชื้นด้วยวิธี gravimetric ปริมาณเถ้ารวม
           กลุ่ม flavonoids และ phenolic เมื่อพิสูจน์เอกลักษณ์  ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด ปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า

           ทางเคมีด้วยวิธี Thin Layer Chromatography โดย  ปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95% และปริมาณรวม

           ตรวจสอบด้วยการน�าแผ่นเคลือบซิลิกาเจลไปท�าให้  ของสาร phenolic ค�านวณในรูป gallic acid (ตาราง
           ร้อนด้วยเตาไฟฟ้าที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส นาน   ที่ 4) โดยค่าที่แสดงเป็นค่าเฉลี่ยซึ่งได้จากการท�าการ
           10 นาที แล้วท�าปฏิกิริยากับสารละลายทดสอบ NP/  ทดสอบซ�้า 2 ครั้ง จากผลการศึกษาดังกล่าว พบว่ามีค่า

           PEG และสังเกตผลด้วยแสง UV ที่ความยาวคลื่น 366   เฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ ร้อยละ

           นาโนเมตร จะให้แถบสารสีส้ม สีเหลือง สีเหลืองปน  6.98 ± 0.81, 5.88 ± 1.26, 0.03 ± 0.03, 25.02 ±
           ส้ม และสีเขียว รวมกันทั้งหมด 9 แถบ โดยมีตัวอย่าง   5.85, 22.09 ± 6.43 และ 2.36 ± 1.39 โดยน�้าหนัก
           จ�านวน 13 ตัวอย่าง ให้ผลโครมาโทแกรมที่มีลักษณะ  ตามล�าดับ (ตารางที่ 5)

           เหมือนกัน โดยอาจแตกต่างกันเพียงแต่ปริมาณของ     การก�าหนดข้อก�าหนดมาตรฐาน โดยก�าหนด

           องค์ประกอบทางเคมีในแต่ละชนิด คือสังเกตได้จาก  เกณฑ์สูงสุดจาก ค่าเฉลี่ย+10% ส�าหรับปริมาณที่
           ความเข้มของแถบสารแต่ละชนิดที่ปรากฏในแต่ละ   ระบุว่า “ไม่เกิน’’ และเกณฑ์ต�่าสุดจาก ค่าเฉลี่ย-10%
           ตัวอย่างไม่เท่ากัน และตัวอย่างทั้ง 13 ตัวอย่าง ตรวจ  ส�าหรับปริมาณที่ระบุว่า “ไม่น้อยกว่า’’ ดังนั้น จะได้

           พบสาร orientin ส�าหรับตัวอย่างจ�านวน 4 ตัวอย่าง   ข้อก�าหนดคุณภาพของใบชะมวงที่ควรจะเป็นได้

           ที่เก็บมาจากจังหวัดทางภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดตรัง   (ตารางที่ 5)
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137