Page 130 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 130

544 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                4) ปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า [14]         จากนั้นเตรียมสารละลายมาตรฐาน gallic acid โดย
                ชั่งตัวอย่างจ�านวน 5 กรัม ที่ทราบน�้าหนักที่  ให้มีความเข้มข้นของ gallic acid 1,000 ไมโครกรัม/

           ถูกต้องเป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่ง น�ามาหมักด้วยน�้าที่  มิลลิลิตร ในน�้า เตรียมสารละลายมาตรฐาน gallic
           ท�าให้อิ่มตัวด้วย chloroform 100 มิลลิลิตร (เตรียม  acid เจือจางให้ได้ความเข้มข้นสุดท้ายเป็น 1.6, 3.2,
           โดยผสม chloroform 2.5 มิลลิลิตร กับน�้ากลั่น 900   4.8, 6.4, 8.0 และ 9.6 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ในน�้า แล้ว

           มิลลิลิตร จากนั้นปรับปริมาตรด้วยน�้าจนครบ 1,000   ปิเปตสารละลายมาตรฐาน gallic acid เจือจางแต่ละ
           มิลลิลิตร) ในขวดแก้วที่มีฝาปิดสนิทนาน 24 ชั่วโมง   ความเข้มข้นลงในหลอดทดลองแต่ละหลอด จ�านวน

           โดย 6 ชั่วโมงแรก ให้เขย่าด้วยเครื่องเขย่า ตั้งทิ้ง  1.0 มิลลิลิตร เติมสารละลายเจือจาง Folin-Ciocal-
           ไว้ 18 ชั่วโมง กรอง น�าสารละลายที่กรองได้ จ�านวน   teau’s phenol reagent ร้อยละ 10.0 โดยปริมาตร

           20.0 มิลลิลิตร ใส่ในถ้วยปากกว้างที่ทราบน�้าหนักคงที่   จ�านวน 4.0 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากันดี เติมสารละลาย
           ระเหยให้แห้งบนอ่างอังไอน�้า น�าไปอบที่อุณหภูมิ 105   โซเดียมคาร์บอเนต (sodium carbonate) ที่ความเข้ม

           องศาเซลเซียส จนได้น�้าหนักคงที่ น�าไปค�านวณหาค่า  ข้นร้อยละ 10.0 โดยน�้าหนักต่อปริมาตร จ�านวน 4.0
           ร้อยละของปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า (ตารางที่ 4)  มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากันดี แล้วน�าหลอดทดลองไปแช่
                5) ปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95% [14]  ในอ่างอังไอน�้าที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 5

                ชั่งตัวอย่างจ�านวน 5 กรัม ที่ทราบน�้าหนักที่ถูก  นาที จากนั้นแช่ในน�้าที่อุณหภูมิห้องจนเย็นลง น�าไป
           ต้องเป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่ง น�ามาหมักด้วยเอทานอล   วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร

           95% จ�านวน 100 มิลลิลิตร ในขวดแก้วที่มีฝาปิด  จ�านวน 2 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย (A) เมื่อเปรียบเทียบกับ
           สนิท นาน 24 ชั่วโมง โดย 6 ชั่วโมงแรก ให้เขย่าด้วย  หลอดควบคุมที่ใช้น�้า 1.0 มิลลิลิตร แทนสารละลาย

           เครื่องเขย่า ตั้งทิ้งไว้ 18 ชั่วโมง กรอง น�าสารละลายที่  มาตรฐาน วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นเช่น
           กรองได้ จ�านวน 20.0 มิลลิลิตร ใส่ในถ้วยปากกว้างที่  เดียวกัน (C) น�าค่าเฉลี่ยของ A-C แล้วน�าค่าที่ได้มา

           ทราบน�้าหนักคงที่ ระเหยให้แห้งบนอ่างอังไอน�้า น�าไป  แสดงเป็นกราฟมาตรฐาน (ภาพที่ 3) โดยแกน Y เป็น
           อบที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส จนได้น�้าหนักคงที่   ค่าการดูดกลืนแสงของ A-C และแกน X เป็นความ
           น�าไปค�านวณหาค่าร้อยละของปริมาณสิ่งสกัดด้วย    เข้มข้นของ gallic acid พบว่ากราฟมาตรฐานเป็นเส้น

           เอทานอล 95% (ตารางที่ 4)                    ตรง และมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นตรงดังนี้ Y = 0.0934X
                2.3  การศึกษาปริมาณสารส�าคัญ (assay)   + 0.0044, R  = 0.9995 ส�าหรับสารละลายตัวอย่าง
                                                                 2
                1)  ปริมาณรวมของสาร phenolic ค�านวณใน  ท�าซ�้าเช่นเดียวกันกับสารละลายมาตรฐาน โดยให้เจือ
           รูป gallic acid [15]                        จางสารละลายตัวอย่างลงห้าเท่า แล้วน�าไปค�านวณ
                ชั่งตัวอย่าง 200 มิลลิกรัม ที่ทราบน�้าหนักที่ถูก  เปรียบเทียบค่าการดูดกลืนแสงกับกราฟมาตรฐาน

           ต้อง เป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่ง เติมน�้า 20 มิลลิลิตร น�าไป  เพื่อวิเคราะห์ปริมาณรวมของสาร phenolic ค�านวณ
           โซนิเคท (sonicate) นาน 30 นาที กรอง ปรับปริมาตร  ในรูป gallic acid ในใบชะมวงแห้ง (ตารางที่ 4)

           ให้ได้ความเข้มข้น 10.0 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ในน�้า
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135