Page 127 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 127

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  541




            มิลลิลิตร                                   ขอบด้านซ้ายและขวาประมาณ 10 มิลลิเมตร และให้
                   2.2)  การเตรียมสารละลายมาตรฐาน       มีระยะห่างระหว่างแถบของสารละลายตัวอย่างแต่ละ

            ละลายสารมาตรฐาน orientin ให้มีความเข้มข้น 1.0   ชนิดไม่น้อยกว่า 4 มิลลิเมตร ผึ่งให้แห้ง แล้วน�าไปวาง
            มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ใน absolute ethanol     ในถังท�าโครมาโทกราฟีที่อิ่มตัวด้วย mobile phase
                   2.3)  การเตรียมสารละลายทดสอบ (test   ทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง เมื่อ mobile phase ซึมขึ้นไป

            solution)                                   ตามผิวที่ฉาบสูง 8 เซนติเมตร น�าแผ่นเคลือบซิลิกา
                   แนทเชอรัลโพรดักส์/โพลีเอทิลีนไกลคอล   เจล ออกมาผึ่งไว้ให้แห้งในตู้ดูดควัน แล้วน�าไปตรวจ
            (Natural Products/Polyethylene Glycol, NP/  สอบ

            PEG test solution) [13]                            ข. การตรวจสอบ
                   สารละลายเอ็นพี (NP) เตรียมโดยละลาย          น�าแผ่นเคลือบซิลิกาเจลไปพ่นด้วย สาร
            สาร diphenylboric acid-2-aminoethyl ester   ละลายทดสอบ NP/PEG โดยมีเทคนิคดังนี้ น�าแผ่น

            ในmethanol ให้มีความเข้มข้นร้อยละ 1.0 โดย   เคลือบซิลิกาเจลไปท�าให้ร้อน ที่อุณหภูมิ 80 องศา
            น�้าหนักต่อปริมาตร ส่วนสารละลายพีอีจี (PEG)   เซลเซียส นาน 10 นาที จากนั้นพ่นด้วยสารละลาย

            เตรียมโดย ละลายสาร polyethylene glycol 4000   NP ขณะที่แผ่นเคลือบซิลิกาเจลยังร้อน จากนั้นพ่น
            ใน ethanol ให้มีความเข้มข้นร้อยละ 5.0 โดยน�้าหนัก  ทับด้วยสารละลาย PEG ทิ้งไว้ให้แห้งในอากาศ และ
            ต่อปริมาตร                                  สังเกตผลภายใต้แสงอัลตราไวโอเลต (ultraviolet,

                   2.4)  การเตรียมวัฏภาคเคลื่อนที่ (mobile   UV) ที่ความยาวคลื่น 366 นาโนเมตร (ตารางที่ 2 และ
            phase)                                      3, ภาพที่ 2)

                   เตรียม mobile phase ที่พัฒนาเอง โดย       2.2 การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทาง
            ผสม ethyl acetate, gacial acetic acid, formic   เคมี (physico-chemical properties) [14]
            acid และ DI Water ในอัตราส่วน 100:11:11:27 ให้     1)  ปริมาณความชื้นด้วยวิธี gravimetric [14]

            เข้ากันดี น�ามาใส่ในถังโครมาโทกราฟี ทิ้งไว้อย่างน้อย      ชั่งตัวอย่างจ�านวน 5 กรัม ที่ทราบน�้าหนักที่ถูก
            2 ชั่วโมง ก่อนใช้ เพื่อให้บรรยากาศในถังอิ่มตัวด้วย   ต้องเป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่งในขวดชั่งน�้าหนักที่ทราบ
            mobile phase                                น�้าหนักคงที่ น�าไปอบที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส

                   ก. วิธีการ                           นาน 5 ชั่วโมง และอบต่ออีก 1 ชั่วโมง ท�าให้เย็นลง
                   ใช้เครื่อง Automatic TLC Sampler 4   ในโถแก้วดูดความชื้นที่ใส่ซิลิกาเจล เพื่อหาน�้าหนัก
            หยดสารละลายตัวอย่าง ทั้ง 17 ตัวอย่าง ชนิดละ 1   คงที่ (หมายถึง น�้าหนักที่ได้จากการชั่ง 2 ครั้ง มีค่าต่าง

            ไมโครลิตร และสารละลายมาตรฐาน 1 ไมโครลิตร ลง  กันไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม โดยการชั่งครั้งที่สองเพื่อหา
            บนแผ่นเคลือบซิลิกาเจล ขนาด 20 5 10 เซนติเมตร   ความแตกต่างของน�้าหนัก จะชั่งภายหลังจากการอบ

            ความหนา 0.25 มิลลิเมตร ในแนวระดับเดียวกัน   ที่ใช้เวลาเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งชั่วโมง) น�าไปค�านวณหาค่า
            (ความยาวของแถบประมาณ 6 มิลลิเมตร) โดยให้ห่าง  ร้อยละของปริมาณความชื้นโดยค�านวณจากน�้าหนักที่
            จากขอบล่างของแผ่นประมาณ 15 มิลลิเมตร ห่างจาก  สูญเสียไปเมื่ออบให้แห้ง (ตารางที่ 4)
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132