Page 170 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 170
368 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
ตารางที่ 4 ความถี่ของการเข้าเส้นลมปราณของยา จากผลสรุปการศึกษาพบว่ายาสมุนไพรจีนที่ใช้
สมุนไพรจีนที่ใช้รักษาโรคเบาหวานลงไตระยะ รักษาโรคเบาหวานลงไตระยะที่ 4 มากที่สุดคือ หวงฉี
ที่ 4 (จากมากไปหาน้อย)
(Huangqi) ล�าดับรองลงมาคือ ตันเซิน (Danshen)
ล�าดับ เข้าเส้นลมปราณ จ�านวนครั้ง ร้อยละ(%) ฝูหลิง (Fuling) ซันเย่า (Shanyao) เป็นต้น จาก
ที่ใช้ ทฤษฎีแพทย์แผนจีนได้อธิบายว่าพื้นฐานของโรค
1 ม้าม 11 23.91 เบาหวานลงไตเกิดจากหยางของม้ามและไตพร่อง และ
2 ไต 9 19.56 มีความชื้น เลือดคั่งอุดกั้นเป็นอาการรอง ดังนั้นผลการ
3 ตับ 8 17.39
4 หัวใจ 6 13.04 ศึกษาสรุปผลวิจัยได้ว่าหลักการรักษาหลักของโรค
5 เยื่อหุ้มหัวใจ 3 6.52 เบาหวานลงไตระยะที่ 4 คือ เลือกใช้ยาที่มีสรรพคุณ
6 ปอด 3 6.52 บ�ารุงม้าม บ�ารุงชี่ หมุนเวียนน�้าขจัดความชื้นเป็นหลัก
7 กระเพาะอาหาร 2 4.35 ส�าคัญ ดังนั้นจึงพบว่ามีการใช้ยาหวงฉี (Huangqi)
8 กระเพาะปัสสาวะ 2 4.35 มากที่สุด
9 ล�าไส้ใหญ่ 1 2.17 จากการศึกษาพบว่ายาสมุนไพรจีนที่มี
10 ถุงน�้าดี 1 2.17
คุณสมบัติอุ่นและกลางพบได้มากที่สุด ซึ่งคุณสมบัติ
อุ่นสามารถอุ่นไตพยุงหยาง หมุนเวียนชี่และน�้า และ
บทวิจำรณ์ ยาที่มีคุณสมบัติกลางสามารถปรับยาโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานลงไตในทางการแพทย์แผนจีนมีชื่อ ลงไตระยะที่ 4 ซึ่งมีสาเหตุหลักคือหยางของม้ามและ
เรียกว่า เสี่ยวเคอปิ้ง (Xiaokebing) หรือเสิ่นเซียว ไตพร่อง เมื่อหยางของไตพร่อง การเผาผลาญน�้าจึงมี
(Shenxiao) ซึ่งกลไกการเกิดโรคเบาหวานลงไตใน ความผิดปกติจนท�าให้พบเห็นอาการบวมน�้า ดังนั้นจึง
ทางการแพทย์แผนจีนกล่าวไว้ว่า สารยินถูกท�าลาย สรุปได้ว่าการใช้ยาที่มีคุณสมบัติอุ่นเพื่อท�าให้หยางไต
จนกระทบหยาง เมื่อเจ็บป่วยเป็นเวลานานจนเกิดการ กลับมาปกติและคุณสมบัติกลางเพื่อปรับยา
ท�าลายหยางชี่ ท�าให้เกิดหยางของม้ามและหยางของไต ในคัมภีร์เน่ยจิง (Neijing) กล่าวไว้ว่า รสชาติทั้ง
[6]
ทั้งสองพร่อง ในคัมภีร์เซิ่งจี้จ่งลู่ (Shengjizonglu) ห้าเข้าตามอวัยวะต่าง ๆ รสเปรี้ยวเข้าตับ รสเผ็ดเข้า
ได้อธิบายไว้ว่า การเจ็บป่วยยาวนานจนท�าลายหยาง ปอด รสขมเข้าหัวใจ รสเค็มเข้าไตและรสหวานเข้าม้าม
ของไต หรือท�าให้ทั้งยินหยางพร่อง และมีความชื้น รสหวานสามารถบ�ารุง ปรับตัวยาในต�ารับให้เข้า
เลือดอุดกั้นร่วมด้วย เป็นต้น ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า กัน และช่วยระงับอาการปวด การศึกษานี้พบว่า ยา
[7]
โรคเบาหวานลงไตกลไกหลักคือพร่อง ซึ่งผู้ป่วยค่อย สมุนไพรจีนที่ใช้รักษาโรคเบาหวานลงไตระยะที่ 4
ๆ แสดงอาการพร่องออกมา โดยสาเหตุหลักจากหยาง มากที่สุด คือ ยาสมุนไพรที่มีรสหวานมากที่สุด และ
ของม้ามและไตพร่อง ซึ่งเป็นกลไกที่พบมากที่สุดของ จากผลสรุปการศึกษาพบว่ายาสมุนไพรจีนเข้าเส้น
โรคเบาหวานลงไต และมักพบกลุ่มอาการหยางของ ลมปราณม้ามมากที่สุด ซึ่งที่กล่าวมาข้างต้น หลักการ
[8]
ม้ามและไตพร่องกับผู้ป่วยเบาหวานลงไตระยะที่ 3 รักษาหลักของโรคเบาหวานลงไตคือบ�ารุงม้าม บ�ารุง
และ 4 มากที่สุด ชี่ หมุนเวียนน�้าขจัดชื้น ดังนั้นยาที่พบส่วนใหญ่จึงเข้า
[9]