Page 182 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 182
412 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
Development of Skin Scrub Made from Sangyod Rice (Oryza sativa L.)
Mareedee Yusoh, Aodi Whanmuang, Piyanuch Suwannarat , Sirirat Sriraksa
*
Department of Thai Traditional Medicine, the Faculty of Health and Sports Science, Thaksin University,
Ban Phrao Sub-District, Pa Phayom District, Phatthalung 93210, Thailand
* Corresponding Author: piyanuch.s@kkumail.com
Abstract
The objective of this study was to develop a skin scrub from sangyod rice. The skin scrub was prepared from
sangyod rice that had the best physical properties and consisted of 40%, 20%, 20%, 10% and 10% of sangyod rice,
tamarind, salty, black sesame and dehydrated coconut, respectively. The test was conducted in 25 healthy volunteers
by having them scrub with the product at the test site twice a week consecutively over a period of 8 weeks. Data
were collected and then analyzed by using basic statistics to determine percentages, means, standard deviations,
and to perform a paired t-test of hypothesis. The physical properties evaluation showed that the exfoliating product
made from the best sangyod rice had a medium coarse texture, uneven dark brown color, mild scent of rice milk
mixed with black sesame, no foreign matter, and a pH of 5. In all volunteers, after using the product, they had more
significantly brightened and moisturized skin (p < 0.05), none had any skin irritation. Their satisfaction with the
product was at high and highest levels and 72% of them were satisfied with the jar-packaging form.
Key words: development, skin scrub, sangyod rice
บทนำ�และวัตถุประสงค์ และหน่วยงานภาคเอกชน เพื่อให้มีนวัตกรรมแปรรูป
ข้าวเป็นผลิตผลทางการเกษตรที่สำาคัญของ ข้าวเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริม เครื่องสำาอาง และ
ประเทศไทยที่มีการส่งออกไปจำาหน่ายต่างประเทศ เวชสำาอาง เป็นต้น [3]
มากเป็นอันดับ 1 ปัจจุบันการแข่งขันในตลาดค้า ข้าวที่มีความสำาคัญของภาคใต้ คือ ข้าวสังข์หยด
[1]
ข้าวโลกมีสูงขึ้น และมีแนวโน้มที่ทิศทางราคาข้าวใน (Oryza sativa L.) เป็นพันธุ์ข้าวเฉพาะถิ่นที่มีแหล่ง
ตลาดโลก จะทรงตัวในระดับตำา ดังนั้นโครงการ ปลูกดั้งเดิมอยู่ในจังหวัดพัทลุง โดยข้าวสังข์หยดมี
่ [2]
การแปรรูปข้าวเพื่อสร้างมูลค่าในเชิงพาณิชย์จึงเป็น การนำามาแปรรูปในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์
วิธีการหนึ่งในการหลีกเลี่ยงปัญหาด้านส่งออกข้าวใน บำารุงเส้นผม ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว และกาแฟ
[4]
[5]
อนาคต ซึ่งข้าวสามารถนำามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ข้าวสังข์หยด ข้าวสังข์หยดเป็นข้าวที่มีคุณค่าทาง
[6]
ชนิดต่าง ๆ เช่น อาหารสำาเร็จรูป อาหารขบเคี้ยว เครื่อง โภชนาการมากกว่า ข้าวกล้องและข้าวซ้อมมือ โดยมี
้
ดื่มเพื่อสุขภาพ ขนมไทย เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ สารสำาคัญคือ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต นำา เส้นใย
แป้งข้าวทดแทนในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ อีกทั้งภาครัฐยัง อาหาร เถ้า ธาตุเหล็ก วิตามิน B1 วิตามิน B3 สารกาบ้า
มีการสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยในสถาบันการศึกษา (GABA) และสารต่อต้านอนุมูลอิสระ นอกจาก
[7]