Page 178 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 178

408 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ตารางที่ 7  ผลการศึกษาความแตกต่างระหว่างค่าการเกาะติดผิว [peak force (N)] ของยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์
                    ป้ายปาก เมื่อเปรียบเทียบกับค่าการเกาะติดผิวของยาป้ายปากที่วางขายตามท้องตลาด

                 ยากวาดแสงหมึกในรูป                   ค่าการเกาะติดผิว                 Sig.
                    เพสท์ป้ายปาก                        (Mean ± SD)                  (2-tailed)
                      สูตรที่ 1                         0.59 ± 0.19                    0.74
                      สูตรที่ 2                         0.55 ± 0.07                    0.65
                      สูตรที่ 3                         0.45 ± 0.04                    0.29
                      สูตรที่ 4                         0.32 ± 0.06                    0.20
                      สูตรที่ 5                         0.37 ± 0.03                    0.12
                      สูตรที่ 6                         0.39 ± 0.03                    0.16
             ยาป้ายปากที่วางขายตามท้องตลาด              0.53 ± 0.13                     -





           ยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์ป้ายปากด้วยวิธีการ   สูตร มีความสมำ่าเสมอเมื่อดูผ่านกล้องจุลทรรศน์ และ

           ทดสอบที่อุณหภูมิร้อนสลับเย็น พบว่าไม่มีการ  ดูด้วยตาเปล่า
           เปลี่ยนแปลงสีของยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์ป้าย
           ปากทั้ง 6 สูตรตลอดระยะเวลาที่ศึกษา คือสูตรที่ 1, 2        อภิปร�ยผล

           และ 3 มีสีนำ้าตาลอ่อน สูตรที่ 4, 5 และ 6 มีสีนำ้าตาล     การทดสอบความคงสภาพของเพสท์ที่อุณหภูมิ
           เข้ม และการตกตะกอน พบว่าในสูตรที่ 3, 5 และ 6   ร้อนสลับเย็น (heating-cooling cycle) จากการ
           ไม่มีการตกตะกอน สูตรที่ 1, 2 และ 4 มีการตกตะกอน   สังเกตลักษณะทางกายภาพของเพสท์ พบว่าไม่มีการ

           ส่วนลักษณะของเนื้อของยากวาดแสงหมึกในรูปเพส  เปลี่ยนแปลงสี ตลอดระยะเวลาที่ศึกษา และไม่มีการ
           ท์ป้ายปากทั้ง 6 สูตร มีความสมำ่าเสมอเมื่อดูผ่าน  ตกตะกอนของเพสท์ทั้ง 3 สูตร ส่วนลักษณะของเนื้อ
           กล้องจุลทรรศน์ และดูด้วยตาเปล่า             เพสท์ทั้ง 3 สูตร มีความสมำ่าเสมอเมื่อดูผ่านกล้อง

                การศึกษาความคงสภาพทางกายภาพของ         จุลทรรศน์ และดูด้วยตาเปล่า และค่าการเกาะติดผิว
           ยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์ป้ายปากด้วยวิธีการ   (peak force) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ

           ทดสอบความคงสภาพที่สภาวะการเก็บรักษาใน       (pair t-test, wilcoxsonsign-rank test) พบว่าสูตร
           อุณหภูมิห้อง พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีของยาก  1 และ 3 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญทาง
           วาดแสงหมึกในรูปเพสท์ป้ายปากทั้ง 6 สูตรตลอด  สถิติ ส่วนในสูตรที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัย

           ระยะเวลาที่ศึกษา คือสูตรที่ 1, 2 และ 3 มีสีนำ้าตาล  สำาคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสำาคัญ 0.05 ดังนั้นจากผล
           อ่อน สูตรที่ 4, 5 และ 6 มีสีนำ้าตาลเข้ม และการตก  การศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่าสูตรที่มีความคงตัวทาง

           ตะกอน พบว่าในสูตรที่ 3, 5 และ 6 ไม่มีการตกตะกอน   กายภาพคือสูตรที่ 1 และ 3 ส่วนในสูตรที่ 2 ไม่มีความ
           สูตรที่ 1, 2 และ 4 มีการตกตะกอน ส่วนลักษณะของ  คงตัวทางกายภาพ
           เนื้อของยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์ป้ายปากทั้ง 6      การทดสอบความคงสภาพของยากวาดแสง
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183