Page 176 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 176

406 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ป้ายปาก จำานวน 0.5 กรัม ละลายในนำ้าบริสุทธิ์ 4.5   ลักษณะของเนื้อเพสท์ การตกตะกอน และการเกาะ
           กรัม วัดค่า pH ในตัวอย่างต่าง ๆ ที่เวลา 0, 15, 30   ติดผิว จากการสังเกตลักษณะทางกายภาพของเพสท์

           และ 60 วัน                                  พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงสี คือ มีสีขาวขุ่นอมเหลือง
                    - นำาข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติด้วย  ตลอดระยะเวลาที่ศึกษา และไม่มีการตกตะกอนของ
           โปรแกรม SPSS                                เพสท์ทั้ง 3 สูตร ส่วนลักษณะของเนื้อเพสท์พื้นของ
                                                                                  ่
                  2.5.2 การทดสอบที่อุณหภูมิร้อนสลับเย็น   เพสท์ป้ายปากทั้ง 3 สูตร มีความสมำาเสมอเมื่อดูผ่าน
           (heating-cooling cycle) เพื่อศึกษาความคงสภาพ  กล้องจุลทรรศน์ และดูด้วยตาเปล่า สำาหรับค่าการ
           ของยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์ป้ายปากในอุณหภูมิ  เกาะติดผิว เมื่อนำาผลมาวิเคราะห์ระหว่างก่อน และ

           ที่เปลี่ยนไป [5]                            หลังกระบวนการ (ตารางที่ 4) ซึ่งพบว่าสูตร 1 และ 3
                  1) เก็บยากวาดสงหมึกในรูปเพสท์ป้ายปาก  ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ส่วน
           บรรจุในขวดแก้วไว้ที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส   ในสูตรที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญทาง

           เป็นเวลา 48 ชั่วโมง แล้วนำามาเก็บที่อุณหภูมิ 4 องศา  สถิติที่ระดับนัยสำาคัญ 0.05
                                               ้
           เซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง คิดเป็น 1 รอบ ทำาซำาเช่น
           นี้จนครบ 7 รอบ                              2. คว�มคงสภ�พของย�กว�ดแสงหมึกในรูป
                  2) เมื่อครบตามเวลาที่กำาหนดไว้ นำามา  เพสท์ป้�ยป�ก
           ทดสอบด้วยวิธีต่าง ๆ ดังวิธีที่ 2.5.1(3.1)-2.5.1(3.2)     หลังจากการทดสอบยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์

                  3) นำาข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติด้วย  ป้ายปากโดยวิธีการทดสอบที่อุณหภูมิร้อนสลับเย็น
           โปรแกรม SPSS                                และการทดสอบความคงสภาพที่สภาวะการเก็บรักษา

                                                       ในอุณหภูมิห้อง เพื่อศึกษาความคงสภาพทางกายภาพ
                         ผลก�รศึกษ�                    โดยสังเกตสี ความสมำ่าเสมอของเนื้อเพสท์ การตก

                                                       ตะกอน การเกาะติดผิว เมื่อพิจารณาจากค่าความ
           1. คว�มคงสภ�พของเพสท์                       เป็นกรด-ด่างแล้วนำาผลมาวิเคราะห์ระหว่างก่อน และ

                นำาเพสท์ไปทดสอบโดยวิธีการทดสอบที่      หลังกระบวนการ (ตารางที่ 5 และตารางที่ 6)
           อุณหภูมิร้อนสลับเย็น โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงสี      ในการศึกษาความคงสภาพทางกายภาพของ



           ตารางที่ 4  ผลการศึกษาค่าการเกาะติดผิว [peak force (N)] ของเพสท์ที่ทดสอบด้วยวิธีการทดสอบที่อุณหภูมิร้อน
                    สลับเย็น

                                        ค่าการเกาะติดผิว (N) (Mean ± SD)
            เพสท์                                                                  Sig. (2-tailed)
                                     Day 0              Day 28 (ครบ 7 รอบ)

            สูตร A1               0.46 ± 0.02              0.43 ± 0.06                0.59
            สูตร A2               0.44 ± 0.09              0.27 ± 0.05                0.04
            สูตร A3               0.36 ± 0.11              0.22 ± 0.14                0.42
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181