Page 175 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 175

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  405




            ตารางที่ 3  อัตราส่วนของเพสท์ : ปริมาณของสารสกัดจากตำารับยากวาดแสงหมึก ของยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์
                     ป้ายปากแต่ละสูตร

             ตัวอย่าง            สูตรเพสท์ (ปริมาณ)         ปริมาณของสารสกัดจากตำารับยากวาดแสงหมึก
             สูตรที่ 1             สูตร A1 (83%)                           17%
             สูตรที่ 2             สูตร A2 (83%)                           17%
             สูตรที่ 3             สูตร A3 (83%)                           17%
             สูตรที่ 4             สูตร A1 (66%)                           34%
             สูตรที่ 5             สูตร A2 (66%)                           34%
             สูตรที่ 6             สูตร A3 (66%)                           34%




            และปริมาณเพสท์ที่ใช้ในการป้ายปาก 1 ครั้ง = 0.05-  จากนั้นกวนอย่างต่อเนื่อง

            0.017 = 0.033 กรัม ดังนั้น ปริมาณสารสกัดตำารับยา        4) นำา Plastibase มาผสมกับ Orahesive
            กวาดแสงหมึกที่ใช้ในการป้ายปาก 1 ครั้ง (x) จึงคิดเป็น  base ทั้งสูตร A และสูตร B ในอัตราส่วน Plastibase :
            ร้อยละ 34 ของทั้งตำารับยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์   Orahesive base เป็น 60:40, 50:50 และ 40:60 ผสม

            ป้ายปาก จึงได้เตรียมยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์  ให้เข้ากันในโกร่งแก้ว
            ป้ายปากที่ประกอบด้วยปริมาณสารสกัดร้อยละ 34       2.5 การทดสอบความคงสภาพของยากวาดแสง
            และร้อยละ 17 เพื่อศึกษาความคงสภาพต่อไป      หมึกในรูปเพสท์ป้ายปาก

                    2.4.3 การเตรียมยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์     2.5.1 การทดสอบความคงสภาพที่สภาวะ
            ป้ายปาก                                     การเก็บรักษาในอุณหภูมิห้อง (25-35 องศาเซลเซียส)

                   1) นำาสารสกัดตำารับยากวาดแสงหมึก     (real-time storage condition) เพื่อศึกษาความคง
            ละลายใน propylene glycol                    สภาพของยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์ป้ายปาก [5]
                   2) เตรียม Plastibase โดยการนำา mineral        1)  นำาขวดที่บรรจุยากวาดแสงหมึกในรูป

            oil และ polyethylene มาละลายบน hot plate จน   เพสท์ป้ายปากแต่ละสูตรตั้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง
            polyethylene ละลายหมด จากนั้นทำาให้เย็นลงทันที        2)  ตั้งไว้เป็นเวลา 14, 30 และ 60 วัน
                                    ้
            โดยการเทใส่บีกเกอร์ที่แช่ในนำาแข็ง เมื่อ mineral        3)  เมื่อครบตามเวลาที่กำาหนดไว้ นำามา
            oil เย็นตัวลง จึงใส่สารสกัดตำารับยากวาดแสงหมึกที่  ทดสอบด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้
                                                                                       ่
            ละลายแล้วใน propylene glycol เข้าไป คนให้เข้ากัน         3.1) การดูสี และความสมำาเสมอของ
                   3) เตรียม Orahesive base (NaCMC :    เนื้อเพสท์, ดูการตกตะกอน, ดูการเกาะติดผิว ดังวิธี
            pectin : gelatin) เตรียมโดยการละลายเจลาตินในนำา ้  ที่ 2.3.1(1)-2.3.1(3)
            ร้อน หลังจากเจลาตินเย็นตัวลง เติม paraben con-         3.2) ทดสอบความเป็นกรดด่าง (pH

            centrate (methyl paraben 10% propyl paraben   determination test)
            2%) ลงไป แล้วตามด้วย NaCMC และ pectin ลงไป           - เตรียมยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180