Page 174 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 174
404 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
2%) ลงไป แล้วตามด้วย NaCMC และ pectin ลงไป ตะกอน และความคงสภาพของเพสท์
จากนั้นกวนอย่างต่อเนื่อง 3) การดูการเกาะติดผิว [peak force (N)]
2.2.3 นำา Plastibase มาผสมกับ Orahe- โดยใช้เครื่องทดสอบเนื้อสัมผัส ด้วยเครื่อง texture
sive base ทั้งสูตร A และสูตร B ในอัตราส่วน analyser (Stable Micro System รุ่น TA.XTplus
Plastibase : Orahesive base เป็น 60:40, ประเทศอังกฤษ) ใช้หัววัด Radiused Cylinder
50:50 และ 40:60 ผสมให้เข้ากันในโกร่งแก้ว Probe เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร ใส่ Sodium
หมายเหตุ : ในการเตรียมเพสท์ทั้ง 6 สูตร ผล alginate จำานวน 0.3 กรัม ลงไปใน probe แล้วใส่
ปรากฏว่า Orahesive Base ของสูตรที่ B1-B3 ละลาย เพสท์ลงไป 0.3 กรัม จากนั้นนำา sodium alginate ไป
ได้ไม่หมด และไม่สามารถขึ้นรูปเป็นเพสท์ได้ จึงไม่ สัมผัสกับหัววัด แล้วกำาหนดค่าการทดสอบโดย เลือก
สามารถดำาเนินขั้นตอนต่อไปได้ ที่ T.A. Setting : Mucoadhesion Test ทดสอบใน
2.3 การทดสอบความคงสภาพของเพสท์ อุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) แล้วนำามา เปรียบ
นำาเพสท์ทั้ง 3 สูตร (สูตร A1-A3) ที่ได้มา เทียบค่ามาตรฐานกับเพสท์ที่วางขายตามท้องตลาด
ทดสอบความคงสภาพ เพื่อหาสูตรที่มีความคงสภาพ 4) นำาข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติด้วย
จากทั้ง 3 สูตร โปรแกรม SPSS
2.3.1 การทดสอบที่อุณหภูมิร้อนสลับเย็น 2.4 การเตรียมยากวาดแสงหมึกในรูปเพสท์
(heating-cooling cycle) เพื่อศึกษาความคงสภาพ ป้ายปาก
[5]
ของเพสท์ในอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป โดยการเก็บเพสท์ 2.4.1 การคำานวณปริมาณสารสกัดที่ใช้ใน
บรรจุในขวดแก้วไว้ที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส การป้ายปากแต่ละครั้ง
เป็นเวลา 48 ชั่วโมง แล้วนำามาเก็บที่อุณหภูมิ 4 องศา ในการป้ายปาก 1 ครั้ง จะใช้ตำารับยากวาด
เซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง คิดเป็น 1 รอบ ทำาซำา ้ แสงหมึกแบบผง 0.1 กรัม เมื่อนำายากวาดแสงหมึก
เช่นนี้จนครบ 7 รอบ แล้วนำามาวิเคราะห์คุณภาพของ มาสกัดให้เป็นสารสกัดจะได้สารสกัด x มิลลิกรัม
เพสท์ ดังนี้ เป็นปริมาณสารสกัดที่ใช้ในการป้ายปาก 1 ครั้ง จาก
่
1) การดูสี และความสมำาเสมอของเนื้อเพสท์ การสกัดผงยากวาดแสงหมึกทั้งหมด 4,560 กรัม ใน
่
ด้วยตาเปล่า และดูความสมำาเสมอของเนื้อเพสท์ผ่าน เอทานอล จะได้สารสกัด 774.05 กรัม ดังนั้น ในการ
กล้องจุลทรรศน์ ที่มีกำาลังขยาย 4X ป้ายปาก 1 ครั้ง จะได้ x เท่ากับ 0.017 กรัม
2) การทดสอบโดยเครื่องหมุนเหวี่ยงดูการ 2.4.2 การคำานวณปริมาณเพสท์ที่ใช้ในการ
ตกตะกอน และความคงสภาพ (centrifuge test) ป้ายปากแต่ละครั้ง
โดยการ นำาเพสท์ 1 กรัม ใส่ใน Eppendorf tube จากการคำานวณหาค่าเฉลี่ยในการใช้เพสท์
ขนาด 0.5 มิลลิลิตร ปั่นแยกด้วยเครื่อง centrifuge ป้ายปากที่วางขายตามท้องตลาด ปริมาณ 1 กรัม
ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5, 15 และ 30 (1,000 มิลลิกรัม) จำานวน 3 ซอง จะได้ค่าเฉลี่ยที่ใช้
นาที ด้วยความเร็ว 2,000 รอบต่อนาที (Tempera- ในการป้ายปากต่อซอง คือ 20 ครั้ง ดังนั้น ปริมาณใน
ture Controlled Centrifuge) จากนั้นสังเกตการตก การใช้เพสท์ป้ายปาก 1 ครั้ง จะได้ 1/20 = 0.05 กรัม