Page 172 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 172

402 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           เคี้ยวหรือกลืน หรือเกิดแผลร้อนในในช่องปากขึ้น  ฝนทาปาก
           พร้อม ๆ กันหลายจุด อาจทำาให้รับประทานอาหารได้     ดังนั้นจึงต้องการพัฒนาตำารับยากวาดแสงหมึก

           น้อยลง หรืออาจทำาให้รับประทานไม่ได้เลย ทั้งนี้จึง  ให้มีรูปแบบที่สะดวกแก่การใช้งาน เพื่อเป็นการช่วย
           มีการคิดค้นยาที่ใช้ลดการอักเสบ และระงับอาการ  ให้ยาแผนไทยเป็นที่รู้จัก นิยมนำามาใช้ และได้เห็น
           ปวดขึ้นมา                                   ถึงสรรพคุณที่ดีของสมุนไพรในตำารับยาแผนไทย ซึ่ง

                โดยยาแผนไทยที่นำามาใช้ในการบรรเทาหรือ  ในการศึกษานี้ได้พัฒนาตำารับยากวาดแสงหมึกในรูป
           รักษาอาการต่าง ๆ นั้น หลายตำารับอาจไม่สะดวกใน  แบบของเพสท์ป้ายปาก
           การนำามาใช้ หรือนำามาใช้จริงยาก จึงทำาให้ไม่นิยมใน

           การใช้จริง ยาไทยหลายตำารับที่มีสรรพคุณที่ดีนั้นจึง      ระเบียบวิธีศึกษ�
           ถูกมองข้าม หรือถูกละเลยไป และอาจทำาให้ยาไทยถูก
           ลืมไปตามกาลเวลาได้ จึงมีความสำาคัญเป็นอย่างยิ่งที่  1. วัสดุ

           จะนำาตำารับยามาพัฒนาให้ใช้ง่ายขึ้น โดยตำารับยาที่ได้     1.1 สมุนไพรที่ใช้ในการศึกษา
           นำามาพัฒนานั้นเป็นตำารับยากวาดแสงหมึก ประกอบ     สมุนไพรในตำารับยากวาดแสงหมึก ประกอบไป

           ไปด้วย หมึกหอม จันทน์ชะมด ลูกกระวาน จันทน์  ด้วย หมึกหอม, จันทน์ชะมด, ลูกกระวาน, จันทน์เทศ,
           เทศ ใบพิมเสน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู ใบสัน  ใบพิมเสน, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กานพลู, ใบสันพร้า
                                                                                      [2]
           พร้าหอม หัวหอม ใบกะเพรา และเบญกานี มีสรรพคุณ  หอม, หัวหอม, ใบกะเพรา และเบญกานี  นำามาล้าง
           ช่วยแก้แผลในปาก แก้ละอองรักษาแผลที่เกิดจากการ  ทำาความสะอาด อบแห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
                             [2]
           อักเสบ และแผลร้อนใน  วิธีการใช้แบบดั้งเดิมเป็นวิธี  เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนำาไปบดหยาบ
                                           ้
           การที่ยุ่งยาก โดยการนำาผงยามาละลายในนำาเบญกานี     1.2 สารเคมี (ตารางที่ 1)


           ตารางที่ 1  สารเคมี

                  สารเคมี                                บริษัท                      เกรด

             1.  95% Ethanol                    ห้างหุ้นส่วนจำากัด แอล บี ซายน์   commercial grade
             2.  mineral oil                     เคมีภัณฑ์คอร์เปอเรชั่น จำากัด      food grade
             3.  sodium carboxy methyl cellulose    เคมีภัณฑ์คอร์เปอเรชั่น จำากัด   food grade
             4.  pectin                          เคมีภัณฑ์คอร์เปอเรชั่น จำากัด      food grade
             5.  gelatin                         เคมีภัณฑ์คอร์เปอเรชั่น จำากัด      food grade
             6.  polyethylene mw 21,000                  ไม่ระบุ                    food grade
             7.  sodium alginate                 เคมีภัณฑ์คอร์เปอเรชั่น จำากัด      food grade
             8.  propylene glycol                       วิทยาศรม                    USP grade
             9.  methyl paraben                         วิทยาศรม                    USP grade
            10.  propyl paraben                         วิทยาศรม                    USP grade
            11.  พิมเสน                                  ไม่ระบุ                 commercial grade
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177