Page 171 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 171
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 401
Development of Ya Kwad Saeng Muek Formulary as Oral Paste
Suthani Kaewsin , Rapeeporn Thongpan , Sirirat Ronnachaimongkol , Sanan Subhadhirasakul †,‡
*
*
*
Bachelor of Thai Traditional Medicine, Faculty of Traditional Thai Medicine, Prince of Songkla University, Kho Hong
*
Sub-District, Hat Yai District, Songkla 90110, Thailand
Faculty of Traditional Thai Medicine, Prince of Songkla University, Kho Hong Sub-District, Hat Yai District, Songkla
†
90110, Thailand
Corresponding author: sanan.s@psu.ac.th
‡
Abstract
This research aimed to develop Ya Kwad Saeng Muek in the form of oral paste, making it more convenient
to use since the original drug use method is complicated. The drug developed is Ya Kwad Saeng Muek with
properties for treating mouth ulcers and relieve mouth aerosol. The physical stability of Ya Kwad Saeng Muek
oral paste was assessed to find the best formula, regarding its color, texture, sedimentation, mucoadhesion, and
acidity-alkalinity. The testing was done in 7 alternating hot and cold cycles for 28 days and at room temperature
of 25–35˚C for 14, 30 and 60 days. The hot-cold cycle testing found that the stable oral paste was the 1 and 3
rd
st
formulas of all 3 formulas. The 5th formula of oral paste was stable out of all 6 formulas in both hot-cold cycle
and at-room-temperature tests. None of the six formulas showed physical stability. In conclusion, it is necessary
to conduct further research on the stability of Ya Kwad Saeng Muek oral paste using both tests (hot-cold cycle and
room-temperature storage conditions) to obtain stable oral paste that is easy to use.
Key words: aphthous or mouth ulcer, Ya Kwad Saeng Muek, oral paste, anti-inflammatory
บทนำ�และวัตถุประสงค์ ภายในช่องปาก โดยกระบวนการการอักเสบเป็นการ
แผลร้อนในหรือ aphthous ulcer ถือเป็นแผล ตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันเพื่อปกป้องร่างกาย
บริเวณเยื่อเมือกในช่องปากที่พบได้มากที่สุด จาก จากการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ หรือการติดเชื้อ เช่น
[1]
การรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ปี 1972-2011 พบว่าแผล ไวรัส แบคทีเรีย หรือเชื้อรา ทั้งนี้การอักเสบเป็นการ
ร้อนในพบได้ร้อยละ 25 จากประชากรทั่วโลก และ บอกตำาแหน่ง และกำาจัดเนื้อเยื่อที่เสียหายให้ร่างกาย
้
มีอัตราที่จะเกิดแผลร้อนในซำาขึ้นอีกภายใน 3 เดือน สามารถเริ่มฟื้นตัวเองได้ แต่มักจะมาพร้อมกับอาการ
มีสูงถึงร้อยละ 50 โดยผู้ป่วยร้อยละ 80 ที่เป็นแผล ที่ไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ เช่น อาการปวด บวมแดง ซึ่ง
ร้อนในได้รับความทุกข์ทรมาน และคิดเป็นร้อยละ อาจจะก่อให้เกิดความลำาบากในการทำากิจวัตรประจำา
5-66 ที่พบได้ของประชากรในแต่ละประเทศ วัน การปฏิบัติหน้าที่ได้ เช่น ผลจากการเป็นแผลร้อน
[1]
ซึ่งแผลร้อนในจัดเป็นกระบวนการอักเสบของเยื่อบุ ในทำาให้ปวดขณะรับประทานอาหาร ทรมานในขณะ