Page 155 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 155
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 137
สมุนไพรไทย 146,605,230 ล้านบาท [2] หนาแน่นของผิวหนังเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 (Maramaldi,
มะขาม (Tamarindus indica L.) เป็นพืชที่ 2011) และผลิตภัณฑ์รูปแบบแผ่นฟิล์มทดสอบในผู้
สำาคัญทางด้านเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศไทย เข้าร่วมวิจัยจำานวน 20 คน พบว่า สามารถเพิ่มความ
ต้นมะขามนั้นสามารถนำาเกือบทุกส่วนมาใช้ประโยชน์ ชุ่มชื้นและความยืดหยุ่นให้ผิวหนัง ได้ร้อยละ 73.26 ±
ในด้านต่าง ๆ ได้ อย่างไรก็ตามเมล็ดมะขามถือเป็น 5.30 และ 11.11 ± 1.59 ตามลำาดับ ซึ่งมากกว่าแผ่น
[3]
ของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อมะขาม ฟิล์มที่ไม่มีสารสกัดเนื้อในเมล็ดมะขาม) [5]
เมล็ดมะขาม (Tamarind seed) ประกอบไปด้วย 2 จากคุณสมบัติของเนื้อเมล็ดมะขามดังกล่าว
ส่วน คือ 1. เปลือกหุ้มเมล็ดมะขามสีนำ้าตาลแดง คณะผู้วิจัยจึงสนใจพัฒนาเนื้อเมล็ดมะขามเป็น
(Tamarind seed coat) ร้อยละ 35-40 โดยนำ้าหนัก ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายในรูปแบบเช็ดหรือล้างออก
และเนื้อในเมล็ดมะขามสีขาว (Tamarind kernel) ซึ่งเป็นรูปแบบที่ใช้ง่าย สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการ
ร้อยละ 60-65 โดยนำ้าหนัก โดยเนื้อในเมล็ดมะขามจะ ออกฤทธิ์ของสารสำาคัญและยังไม่มีการศึกษาวิจัย
ประกอบด้วยโพลีแซคคาไรด์ ร้อยละ 65.1-72.2 โดย โดยมีส่วนประกอบสำาคัญ คือ คาโอลิน (kaolin) มี
นำ้าหนัก โปรตีนร้อยละ 15.0-20.9 โดยนำ้าหนักลิพิด คุณสมบัติทำาให้ผลิตภัณฑ์เกลี่ยง่าย เนื้อเหนียวข้น
[6]
ร้อยละ 3.9-16.2 โดยนำ้าหนัก ไฟเบอร์ร้อยละ 2.5-8.2 เกาะผิวหนังได้ดี และช่วยดูดซับสิ่งสกปรกบนผิวหนัง
[4]
โดยนำ้าหนัก และขี้เถ้าร้อยละ 2.4-4.2 โดยนำ้าหนัก โดยผู้วิจัยได้ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของ
โดยโพลีแซคคาไรด์ที่พบเป็นเฮมิเซลลูโลส (hemicel- ผลิตภัณฑ์ ทดสอบการระคายเคือง ประเมินความ
lulose) ชนิดไซโลกลูแคน (xyloglucan) ที่ประกอบ ชุ่มชื้นของผิวหนัง และประเมินความพึงพอใจของผู้
ด้วยโมเลกุลของนำ้าตาล 3 ชนิด คือ นำ้าตาลกลูโคส เข้าร่วมวิจัยในด้านผลิตภัณฑ์และรูปแบบบรรจุภัณฑ์
(glucose) นำ้าตาลไซโลส (xylose) และนำ้าตาล ซึ่งสามารถนำาไปสู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์พอกผิว
กาแลกโทส (galactose) ต่อกันเป็นสายโซ่ยาว กายที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของ
[3]
ปัจจุบันมีการนำาไซโลกลูแคนซึ่งเป็นพอลิแซค- เมล็ดมะขามซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งมาประยุกต์ใช้ให้เกิด
คาไรด์จากเนื้อเมล็ดมะขามมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ประโยชน์มากขึ้น
ทางการค้า เช่น Glyloid จากบริษัท Dainippon
®
Sumitomo Pharma Ltd. และ Xilogel จากบริษัท วัตถุประสงค์ของก�รวิจัย
®
Indena SpA (Giori et al, 2011) นอกจากนี้ยังมีการ 1. เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของ
ศึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมสารไซโลกลูแคน ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม
จากเนื้อเมล็ดมะขามในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ 2. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของความชุ่มชื้นของ
เครื่องสำาอางรูปแบบเจล ทดสอบในผู้เข้าร่วมวิจัย ผิวหนังหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด
จำานวน 20 คน พบว่า หลังใช้เจลเป็นระยะเวลา 4 มะขาม
สัปดาห์ ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความชุ่มชื้นของผิวหนังเพิ่ม 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์พอก
ขึ้นร้อยละ 36 ความยืดหยุ่นของผิวหนังเพิ่มขึ้นร้อยละ ผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม และรูปแบบบรรจุภัณฑ์
19 ความหยาบของผิวหนังลดลงร้อยละ 28 และความ