Page 154 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 154
136 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
Development of Body Mask Product from Tamarind (Tamarindus indica L.)
Seed Kernel
Suwaree Che-awae, Suhainee Khade, Piyanuch Suwannarat , Sirirat Sriraksa
*
Department of Thai Traditional Medicine, Faculty of Health and Sports Science, Thaksin University,
Phatthalung 93210, Thailand
Corresponding Author: piyanuch.s@kkumail.com
*
Abstract
This study aimed to develop a body mask product from tamarind seed kernel. The product’s physical
properties, skin-moisturizing effectiveness, skin irritation, use satisfaction with the product containing 5% tamarind
seed kernel and its packaging were assessed by 27 healthy volunteers. The skin’s moisture was evaluated before
and after using the product. Data were collected and then analyzed using basic statistics (percentage, mean, and
standard deviation) and using paired t-test for hypothesis testing. The results showed that the tamarind seed kernel
body mask product with best physical properties had a smooth creamy texture with medium viscosity, gray color
with rice-milk aroma, no foreign matter and the pH value of 7. When tested in the volunteers, it did not cause any
irritation. Among the volunteers, their skin moisture increased significantly (p < 0.05) and they were satisfied with
the product at the highest level, and 44.4% of them were most satisfied with the jar packaging.
Key words: development, body mask, tamarind seed kernel
บทนำ�และวัตถุประสงค์ มูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์สมุนไพร และกระตุ้นเศรษฐกิจ
ประเทศไทยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มี ของประเทศ โดยกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ความหลากหลายทางพันธุ์พืช จากข้อมูลของกระทรวง กระทรวงพาณิชย์ คาดการณ์ว่าในแต่ละปีมูลค่าการค้า
เกษตรและสหกรณ์ พบว่า พันธุ์พืชในประเทศไทย ผลิตภัณฑ์เครื่องเทศและสมุนไพรในตลาดโลกสูงถึง
ที่ทราบชื่อวิทยาศาสตร์มีจำานวน 20,000 ชนิด ซึ่งใน 10,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตลาดใหญ่ คือ ตลาดยา
จำานวนนี้ถูกนำามาใช้ประโยชน์เป็นสมุนไพร 1,800 สมุนไพรและเครื่องสำาอาง สินค้าสมุนไพรแบ่งออกได้
้
[1]
ชนิด ในปัจจุบันรัฐบาลไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็น 7 ประเภท ได้แก่ 1) นำามันหอมระเหย (essential
ได้ตระหนักถึงความสำาคัญของการพัฒนาสมุนไพร oil) 243.34 ล้านบาท 2) ยารับประทาน 114.10 ล้าน
ไทย จึงได้กำาหนดให้มีแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการ บาท 3) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องดื่ม 283.67
พัฒนาสมุนไพรไทย พ.ศ. 2560-2564 เพื่อส่งเสริม ล้านบาท 4) เครื่องสำาอาง 10,645.28 ล้านบาท 5) สมุน
และรักษาภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับสมุนไพรไทย และ ไพร 146.60 ล้านบาท 6) สารสกัดสมุนไพร 138.14
พัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากสมุนไพร ล้านบาท 7) ไขที่ได้จากพืช 1.88 ล้านบาท และในเดือน
ไทยให้ครบวงจรและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อสร้าง มกราคม-พฤษภาคม พ.ศ. 2562 มีมูลค่าการส่งออก