Page 150 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 150

132 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           ชุ่มชื้นของผิวหนังชั้นสตราตัมคอร์เนียมหรือชั้นนอก  พัฒนาขึ้นสามารถช่วยบำารุงให้ผิวหนังบริเวณข้อศอก
                                                                                              ้
           สุดของผิวหนัง ที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้วได้เป็น  ให้มีความนุ่มชุ่มชื้น ไม่หยาบกร้าน ลดความหมองคลำา
           อย่างดี และจากปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมสารหรือยา  และในการทดสอบคุณสมบัติของครีม ยังพบว่าไม่ก่อ
           ผ่านผิวหนัง คือ ผิวหนัง และตัวยา สารหรือตำารับ ดัง  ให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง เนื้อครีมไม่หนืด ซึม
           นั้นการศึกษาวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ  เข้าสู่ผิวง่ายได้เป็นอย่างดี

           สารหรือยาเพื่อใช้ทางผิวหนังจึงต้องควบคุมตัวแปร     และพบว่าผลการประเมินความพึงพอใจ
           ที่อาจมีผลต่อการดูดซึมต่าง ๆ [18]           ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ
                ผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจาก  ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ครีมบำารุง

           สารสกัดอบเชยเทศ พบว่ามีคุณสมบัติปกป้องผิวจาก  ข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศของกลุ่มตัวอย่างโดย
           ความแห้งกร้าน ช่วยรักษาความชุ่มชื้นของผิวบริเวณ  ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบ
           ข้อศอก แก้ไขปัญหาอาการข้อศอกดำาและด้านได้ดี ซึ่ง  ว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านบรรจุภัณฑ์ ทำาจากวัสดุ

           จากงานวิจัยของเจนจิรา จิรัมย์ และประสงค์ สีหานาม [19]   ที่เหมาะสม พกพาง่ายสะดวกต่อการใช้งาน อยู่ใน
           ได้กล่าวไว้ว่าสารสกัดที่อยู่ในกลุ่มสารประกอบฟีนอลิก   รูปแบบครีมมีความสะดวกต่อการใช้งาน และเหมาะสม

           ไอโซฟลาโวน บีตาแคโรทีน วิตามิน A, C และ E ซึ่ง  กะทัดรัด รองลงมา คือ ด้านคุณสมบัติทางเคมี
           เป็นสารที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ จะสามารถป้องกัน  ลักษณะเนื้อครีมไม่หนืด ซึมเข้าสู่ผิวง่าย และไม่ก่อให้
           การถูกทำาลายของเซลล์ เนื้อเยื่อต่าง ๆ รวมทั้งเสริม  เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง เอื้อต่อการใช้งาน ซึ่ง

                                                                                             [15]
           สร้างเส้นใยคอลลาเจนในชั้นผิวหนัง ทำาให้ผิวหนังมี  สอดคล้องกับการศึกษาของนันทวัลย์ มิตรประทาน
           ความนุ่มชุ่มชื้น ไม่หยาบกร้าน และพบว่าในงานวิจัย  ที่กล่าวว่าผลิตภัณฑ์ที่ช่วยบำารุงผิว ผู้บริโภคให้ความ

                              [20]
           ของ Mazimba และคณะ  ได้กล่าวไว้ว่าสารสกัดจาก  สนใจในด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ไม่ก่อให้เกิดความ
           เปลือกอบเชยเทศ มีสารประกอบฟีโนลิกรวมสูง รวม  ระคายเคือง รองลงมา คือ ส่วนประกอบวัตถุดิบใน
           ทั้งในงานวิจัยของ Hancorresponding และคณะ [8]   ตำารับของผลิตภัณฑ์ และด้านกลิ่นหอมของผลิตภัณฑ์

           ยังแสดงให้เห็นถึงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของอบเชยมี
           ความเกี่ยวข้องกับศักยภาพในการรักษาความผิดปกติ               ข้อสรุป
                                     ้
           ของผิวหนัง รวมถึงริ้วรอยผิวคลำาและผิวที่ดูหมอง     สารสกัดอบเชยเทศ ด้วยตัวทำาละลายเอทานอล
              ้
           คลำา โดยรวมอบเชยสามารถช่วยให้ผิวมีสุขภาพดี [9]   95% มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระชนิด
           และการที่ใช้สารสกัดอบเชยผสมเข้าไปในผลิตภัณฑ์  ไนตริกออกไซด์ (NO) มากที่สุด เมื่อนำาไปพัฒนา
           ครีมบำารุงผิวจะช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิว โดย  เป็นครีมบำารุงข้อศอก โดยมีส่วนผสมของสารสกัด

           อบเชยช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปที่ผิวทำาให้  อบเชยเทศความเข้มข้นที่ 3 %w/w พบว่า เนื้อครีม
                                                                                   ้
           ผิวหนังชุ่มชื้น และช่วยในการรักษาผิวแห้ง โดยอบเชย  เนียนละเอียด สีของเนื้อครีมเป็นสีนำาตาลอ่อนและ
           ช่วยขจัดเซลล์ผิวที่ตายแล้วและคืนความนุ่มนวลให้  กลิ่นของอบเชยเทศ การไหลของครีมดี ไม่มีการเจริญ
           กับผิว ซึ่งเป็นไปได้ว่าผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอก  ของจุลินทรีย์หรือเชื้อรา ไม่มีการเกิด creaming และ
                [21]
           จากการผสมสารสกัดสมุนไพรอบเชยเทศที่ผู้วิจัย  cracking มีค่าเท่ากับ pH 5-6 โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่าง
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155