Page 149 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 149
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 131
ไม่เคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัด มีประสิทธิภาพในการดึงสารสำาคัญในพืชออกมาได้
สมุนไพรและจากสารสังเคราะห์ ซึ่งพบว่าทั้งสอง ดี และมีแนวโน้มที่ทำาให้มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ดี
กลุ่มมีความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอก ซึ่งจากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า สารสกัดจาก
จากสารสกัดอบเชย ซึ่งมีผลข้างเคียงน้อยกว่าการ เครื่องยาอบเชยนั้นมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ
ใช้สารเคมี และต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีกลิ่นหอม ได้ จากผลการศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระชนิด
ดูดซึมง่าย เนื้อครีมเบา ทำาให้ผิวนุ่มชุ่มชื่น ช่วยลด ไนตริกออกไซด์ (NO) ข้างต้น จึงนำาสารกัดอบเชยเทศ
ความดำาและด้านของข้อศอกได้ดี ผลัดเซลล์ผิวใหม่ ที่สกัดด้วยเอทานอล 95% ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีม
ได้ ราคาไม่แพง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของสุเมธ สุ บำารุงข้อศอกต่อไป เนื่องจากสารกลุ่มนี้จะช่วยในการ
[14]
ทธิ์ประเสริฐพร ที่กล่าวไว้ว่า ปัจจัยด้านคุณภาพ เพิ่มความชุ่มชื้นของชั้นผิวที่มีปัญหาหยาบกร้านหรือ
[2]
ของผลิตภัณฑ์และคุณค่าของผลิตภัณฑ์มีผลต่อ ดำาได้เป็นอย่างดี
การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ และจากการอภิปรายกลุ่ม และได้มีการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีม
ยังพบว่าด้านการประชาสัมพันธ์ การโฆษณาตามสื่อ บำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศโดยมีการ
ต่าง ๆ ราคาผลิตภัณฑ์ เป็นปัจจัยสำาคัญในการตัดสิน ทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของครีมบำารุงข้อศอก
ใจซื้อผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกซึ่งสอดคล้องกับงาน จากสารสกัดอบเชยเทศก่อนนำาไปใช้ในกลุ่มตัวอย่าง
[15]
วิจัยของนันทวัลย์ มิตรประทาน ที่พบว่า การรับรู้ เป็นเวลา 1 สัปดาห์ โดยศึกษาความคงตัวของครีม
ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ นิตยสาร สูตรตำารับด้วยวิธี Heating cooling cycle จากนั้น
การเปรียบเทียบความเหมาะสมของราคาผลิตภัณฑ์ ทำาการประเมินคุณสมบัติทางกายภาพของครีมทั้ง
มีผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ 2 สูตรเพื่อคัดเลือกสูตรที่ดีที่สุดซึ่งผลการศึกษาพบ
และในการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระชนิด ว่าครีมสูตรที่ 2 มีคุณสมบัติที่ดีที่สุด ลักษณะเนื้อ
ไนตริกออกไซด์ในสารสกัดเครื่องยาอบเชยเทศและ ครีมเนียนละเอียดดีมาก มีสีของครีมที่มองเห็นเป็นสี
้
อบเชยไทยที่สกัดด้วยตัวทำาละลายเอทานอล 95% นำาตาลอ่อนของอบเชยเทศ มีกลิ่นของอบเชยเทศอ่อน ๆ
้
และนำา เมื่อเปรียบเทียบร้อยละของผลผลิต (%yield) ไม่มีกลิ่นเหม็นหืน การไหลของครีมได้ดี ไม่มีการเจริญ
ของสารที่สกัดด้วยวิธีที่แตกต่างกัน พบว่า การสกัด ของจุลินทรีย์หรือเชื้อรา ไม่มีการเกิด creaming และ
ด้วยตัวทำาละลายเอทานอล 95% ให้ร้อยละของ cracking มีค่า pH 5.5 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์คุณสมบัติตาม
้
[17]
ผลผลิต (%yield) มากกว่าการสกัดด้วยนำา และพบ ที่กำาหนดไว้ และครีมสูตรนี้มีส่วนผสมของสารสกัด
ว่าสารสกัดจากเครื่องยาอบเชยเทศที่สกัดด้วยตัวทำา อบเชยเทศความเข้มข้นที่ 3 %w/w ซึ่งใช้ความเข้ม
ละลาย เอทานอล 95% มีความสามารถในการต้าน ข้นมากกว่าสูตรที่ 1 ทำาให้มีการดูดซึมที่ผิวหนังได้ดี
อนุมูลอิสระชนิดไนตริกออกไซด์ (NO) มากที่สุด กว่า คือ ในเวลาเพียง 10 วินาที จากผลการประเมิน
เนื่องจากตัวทำาละลายมีความเหมาะสมกับคุณสมบัติ จากผู้เชี่ยวชาญข้างต้นทำาให้ความน่าใช้ของผลิตภัณฑ์
ของสารสำาคัญกับตัวอย่างพืช ซึ่งสอดคล้องกับงาน อยู่ในระดับมาก ซึ่งครีมที่มีการดูดซึมที่ผิวดีและด้วย
วิจัยของวรพร ศีลศร และคณะ ที่กล่าวไว้ว่า สาร คุณสมบัติข้างต้นนั้น แสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์สูตรนี้
[16]
สกัดที่ได้จากการสกัดด้วยตัวทำาละลายเอทานอล จะ มีประสิทธิภาพต่อผิวหนัง สามารถปรับสภาพความ